Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลหญิง 2019 (อังกฤษ: 2019 FIFA Women's World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงครั้งที่ 8 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลหญิงระดับนานาชาติ โดยประเทศฝรั่งเศสเป็นเจ้าภาพจัดการแข่ง โดยประกาศเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2558[1]
Coupe du Monde Féminine de la FIFA 2019 (ฝรั่งเศส) | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | ฝรั่งเศส |
วันที่ | 7 มิถุนายน ถึง 7 กรกฎาคม |
ทีม | 24 (จาก 6 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 9 (ใน 9 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | สหรัฐ (สมัยที่ 4th) |
รองชนะเลิศ | เนเธอร์แลนด์ |
อันดับที่ 3 | สวีเดน |
อันดับที่ 4 | อังกฤษ |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 52 |
จำนวนประตู | 146 (2.81 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 1,131,312 (21,756 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | Ellen White Alex Morgan Megan Rapinoe (คนละ 6 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | Megan Rapinoe |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | Sari van Veenendaal |
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม | Giulia Gwinn |
รางวัลแฟร์เพลย์ | ฝรั่งเศส |
ฟีฟ่าได้ประกาศจำนวนทีมจากแต่ละสมาพันธ์ที่มีสิทธิ์เข้าแข่งขันในรอบสุดท้ายในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559[2] โดยจำนวนทีมในแต่ละทวีปที่มีสิทธิ์เข้าแข่งขันรอบสุดท้ายยังคงใช้ตามครั้งก่อนหน้านี้ เพียงแต่สิทธิ์ในฐานะเจ้าภาพโอนจากคอนคาแคฟในครั้งที่แล้ว (แคนาดา) ไปเป็นยูฟ่า (ฝรั่งเศส)[3] โดยจำนวนทีมในแต่ละทวีปที่มีสิทธิ์เข้าแข่งขันรอบสุดท้ายเป็นดังนี้
24 ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายและอันดับโลกตามการจัดอันดับของฟีฟ่าในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 แสดงด้านล่างนี้[4][5]
12 เมืองเสนอตัวเป็นเจ้าภาพในการแข่งขัน[6] และถูกคัดเหลือเพียง 9 เมืองในวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2560 โดยสตาดเดอลาโบฌัวร์ในน็องต์ สตาดมาร์แซล-ปีโกในน็องซี และสตาดเดอลาเบ-เดช็องในโอแซร์ถูกคัดออก[7]
สนามปาร์กอแล็งปิกในลียง อลิอันซ์ริวีเอราในนิส และปาร์กเดแพร็งส์ในปารีสเคยใช้จัดการแข่งขันยูโร 2016 มาก่อน และปาร์กเดแพร็งส์ยังเคยใช้จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 1998 และตั้งอยู่บนพื้นที่เดิมที่เป็นสนามแข่งขันในฟุตบอลโลก 1938 สนามอีกแห่งที่เคยใช้จัดฟุตบอลโลก 1998 คือสตาดเดอลามอซงในมงเปอลีเย สนามอื่น ๆ มีความจุน้อยกว่า 30,000 ที่นั่ง
การแข่งขันในรอบรองชนะเลิศและชิงชนะเลิศจะมีขึ้นที่ปาร์กอแล็งปิกลียอแน ในย่าน Décines ชานเมืองลียง โดยมีความจุ 58,000 ที่นั่ง ส่วนการแข่งขันนัดเปิดสนามจะจัดขึ้นที่ปาร์กเดแพร็งส์ในกรุงปารีส[8]
ลียง | ปารีส | นิส | มงเปอลีเย | |
---|---|---|---|---|
ปาร์กอแล็งปิกลียอแน | ปาร์กเดแพร็งส์ | อลิอันซ์ริวีเอรา | สตาดเดอลามอซง | |
Capacity: 59,186 | Capacity: 48,583 | Capacity: 35,624 | Capacity: 32,900 | |
แรน | ||||
รัวเซินปาร์ก | ||||
Capacity: 29,164 | ||||
เลออาฟวร์ | วาล็องเซียน | แร็งส์ | เกรอนอบล์ | |
สตาดออเซอ็อง | สตาดดูแอโน | สตาโดกุสต์-เดโลน | สตาดเดออาลป์ | |
Capacity: 25,178 | Capacity: 25,172 | Capacity: 21,127 | Capacity: 20,068 | |
การจับสลากแบ่งสายมีขึ้นที่ La Seine Musicale ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2561[9] โดยทีมที่ผ่านเข้ารอบ 24 ทีมจะถูกแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยทีมเหล่านี้จะถูกแบ่งออกเป็น 4 โถ โดยเรียงตามอันดับโลกหญิงฟีฟ่าที่ประกาศในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2561 และฝรั่งเศสซึ่งเป็นเจ้าภาพจะถูกจัดอยู่ในโถ 1 และตำแหน่ง A1 โดยอัตโนมัติ ในแต่ละกลุ่มจะไม่มีทีมที่มาจากสมาพันธ์เดียวกัน ยกเว้นยูฟ่าซึ่งมีทีมที่ผ่านเข้ารอบ 9 ทีมซึ่งทำให้แต่ละทีมจะมีทีมจากยูฟ่า 1 หรือ 2 ทีม[10]
Pot 1 | Pot 2 | Pot 3 | Pot 4 |
---|---|---|---|
ฝรั่งเศส (3) (เจ้าภาพ) |
เนเธอร์แลนด์ (7) |
เกาหลีใต้ (14) |
อาร์เจนตินา (36) |
ตารางการแข่งขันประกาศเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2561[11] สองอันดับแรกจากแต่ละกลุ่ม และทีมอันดับที่สามที่ดีที่สุด 4 อันดับแรกจะได้ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย[12]
เวลาที่แสดงคือเวลาท้องถิ่นตามเวลาออมแสงยุโรปกลาง (UTC+2) ซึ่งช้ากว่าเวลามาตรฐานไทย 5 ชั่วโมง[13]
การจัดอันดับทีมในรอบแบ่งกลุ่มจะใช้เกณฑ์ดังนี้[12]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ฝรั่งเศส (H, A) | 3 | 3 | 0 | 0 | 7 | 1 | +6 | 9 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | นอร์เวย์ (A) | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 3 | +3 | 6 | |
3 | ไนจีเรีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 4 | −2 | 3 | |
4 | เกาหลีใต้ (E) | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 8 | −7 | 0 |
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เยอรมนี (A) | 3 | 3 | 0 | 0 | 6 | 0 | +6 | 9 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | สเปน (A) | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 2 | +1 | 4 | |
3 | จีน (A) | 3 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 0 | 4 | |
4 | แอฟริกาใต้ (E) | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 8 | −7 | 0 |
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อิตาลี (A) | 3 | 2 | 0 | 1 | 7 | 2 | +5 | 6 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | ออสเตรเลีย (A) | 3 | 2 | 0 | 1 | 8 | 5 | +3 | 6 | |
3 | บราซิล (A) | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 3 | +3 | 6 | |
4 | จาเมกา (E) | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 12 | −11 | 0 |
ออสเตรเลีย | 1–2 | อิตาลี |
---|---|---|
Kerr 22' | รายงาน | Bonansea 56', 90+5' |
ออสเตรเลีย | 3–2 | บราซิล |
---|---|---|
Foord 45+1' Logarzo 58' Mônica 66' (เข้าประตูตัวเอง) |
รายงาน | Marta 27' (ลูกโทษ) Cristiane 38' |
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อังกฤษ (A) | 3 | 3 | 0 | 0 | 5 | 1 | +4 | 9 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | ญี่ปุ่น (A) | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 3 | −1 | 4 | |
3 | อาร์เจนตินา | 3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 4 | −1 | 2 | |
4 | สกอตแลนด์ (E) | 3 | 0 | 1 | 2 | 5 | 7 | −2 | 1 |
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เนเธอร์แลนด์ (A) | 3 | 3 | 0 | 0 | 6 | 2 | +4 | 9 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | แคนาดา (A) | 3 | 2 | 0 | 1 | 4 | 2 | +2 | 6 | |
3 | แคเมอรูน (A) | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 5 | −2 | 3 | |
4 | นิวซีแลนด์ (E) | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 5 | −4 | 0 |
นิวซีแลนด์ | 0–1 | เนเธอร์แลนด์ |
---|---|---|
รายงาน | Roord 90+2' |
แคนาดา | 2–0 | นิวซีแลนด์ |
---|---|---|
Fleming 48' Prince 79' |
รายงาน |
แคเมอรูน | 2–1 | นิวซีแลนด์ |
---|---|---|
Nchout 57', 90+5' | รายงาน | Awona 80' (เข้าประตูตัวเอง) |
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สหรัฐ | 3 | 3 | 0 | 0 | 18 | 0 | +18 | 9 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | สวีเดน | 3 | 2 | 0 | 1 | 7 | 3 | +4 | 6 | |
3 | ชิลี | 3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 5 | −3 | 3 | |
4 | ไทย | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 20 | −19 | 0 |
ทีมอันดับที่ 3 ที่ดีที่สุด 4 ทีมจาก 6 ทีมจะได้เข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้ายร่วมกับสองอันดับแรกจากแต่ละกลุ่ม
การแข่งขันในรอบแพ้คัดออกจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายนถึง 7 กรกฎาคม
รอบ 16 ทีมสุดท้าย | รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||||||||
22 มิถุนายน – นิส | ||||||||||||||
นอร์เวย์ (ลูกโทษ) | 1 (4) | |||||||||||||
27 มิถุนายน – เลออาฟวร์ | ||||||||||||||
ออสเตรเลีย | 1 (1) | |||||||||||||
นอร์เวย์ | 0 | |||||||||||||
23 มิถุนายน – วาล็องเซียน | ||||||||||||||
อังกฤษ | 3 | |||||||||||||
อังกฤษ | 3 | |||||||||||||
2 กรกฎาคม – ลียง | ||||||||||||||
แคเมอรูน | 0 | |||||||||||||
อังกฤษ | 1 | |||||||||||||
23 มิถุนายน – เลออาฟวร์ | ||||||||||||||
สหรัฐ | 2 | |||||||||||||
ฝรั่งเศส (ต่อเวลา) | 2 | |||||||||||||
28 มิถุนายน – ปารีส | ||||||||||||||
บราซิล | 1 | |||||||||||||
ฝรั่งเศส | 1 | |||||||||||||
24 มิถุนายน – แร็งส์ | ||||||||||||||
สหรัฐ | 2 | |||||||||||||
สเปน | 1 | |||||||||||||
7 กรกฎาคม – ลียง | ||||||||||||||
สหรัฐ | 2 | |||||||||||||
สหรัฐ | 2 | |||||||||||||
25 มิถุนายน – มงเปอลีเย | ||||||||||||||
เนเธอร์แลนด์ | 0 | |||||||||||||
อิตาลี | 2 | |||||||||||||
29 มิถุนายน – วาล็องเซียน | ||||||||||||||
จีน | 0 | |||||||||||||
อิตาลี | 0 | |||||||||||||
25 มิถุนายน – แรน | ||||||||||||||
เนเธอร์แลนด์ | 2 | |||||||||||||
เนเธอร์แลนด์ | 2 | |||||||||||||
3 กรกฎาคม – ลียง | ||||||||||||||
ญี่ปุ่น | 1 | |||||||||||||
เนเธอร์แลนด์ (ต่อเวลา) | 1 | |||||||||||||
22 มิถุนายน – เกรอนอบล์ | ||||||||||||||
สวีเดน | 0 | รอบชิงอันดับที่สาม | ||||||||||||
เยอรมนี | 3 | |||||||||||||
29 มิถุนายน – แรน | 6 กรกฎาคม – นิส | |||||||||||||
ไนจีเรีย | 0 | |||||||||||||
เยอรมนี | 1 | อังกฤษ | 1 | |||||||||||
24 มิถุนายน – ปารีส | ||||||||||||||
สวีเดน | 2 | สวีเดน | 2 | |||||||||||
สวีเดน | 1 | |||||||||||||
แคนาดา | 0 | |||||||||||||
นอร์เวย์ | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
Herlovsen 31' | รายงาน | Kellond-Knight 83' |
ลูกโทษ | ||
C. Hansen Reiten Mjelde Engen |
4–1 | Kerr Gielnik Catley |
ฝรั่งเศส | 2–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | บราซิล |
---|---|---|
Gauvin 52' Henry 107' |
รายงาน | Thaisa 63' |
เนเธอร์แลนด์ | 1–0 (ต่อเวลาพิเศษ) | สวีเดน |
---|---|---|
Groenen 99' | รายงาน |
มีการทำประตู 146 ประตู จากการแข่งขัน 52 นัด เฉลี่ย 2.81 ประตูต่อนัด
การทำประตู 6 ครั้ง
การทำประตู 5 ครั้ง
การทำประตู 4 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
การทำประตู 2 ครั้ง
การทำประตู 1 ครั้ง
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
ผู้เล่น | คู่แข่งขัน | บทลงโทษที่ได้รับ |
---|---|---|
Anouk Dekker | ใน รอบคัดเลือก พบกับ สวิตเซอร์แลนด์ (13 พฤศจิกายน 2018) | กลุ่ม อี พบกับ นิวซีแลนด์ (นัดที่ 1; 11 มิถุนายน) |
Nothando Vilakazi | ใน กลุ่ม บี พบกับ สเปน (นัดที่ 1; 8 มิถุนายน) | กลุ่ม บี พบกับ จีน (นัดที่ 2; 13 มิถุนายน) |
Formiga | ใน กลุ่ม ซี พบกับ จาเมกา (นัดที่ 1; 9 มิถุนายน) ใน กลุ่ม ซี พบกับ ออสเตรเลีย (นัดที่ 2; 13 มิถุนายน) |
กลุ่ม ซี พบกับ อิตาลี (นัดที่ 3; 18 มิถุนายน) |
ธนีกาญจน์ แดงดา | ใน กลุ่ม เอฟ พบกับ สหรัฐ (นัดที่ 1; 11 มิถุนายน) ใน กลุ่ม เอฟ พบกับ สวีเดน (นัดที่ 2; 16 มิถุนายน) |
กลุ่ม เอฟ พบกับ ชิลี (นัดที่ 3; 20 มิถุนายน) |
Ngozi Ebere | ใน กลุ่ม เอ พบกับ ฝรั่งเศส (นัดที่ 3; 17 มิถุนายน) | รอบ 16 ทีมสุดท้าย พบกับ เยอรมนี (22 มิถุนายน) |
Rita Chikwelu | ใน กลุ่ม เอ พบกับ เกาหลีใต้ (นัดที่ 2; 12 มิถุนายน) ใน กลุ่ม เอ พบกับ ฝรั่งเศส (นัดที่ 3; 17 มิถุนายน) |
รอบ 16 ทีมสุดท้าย พบกับ เยอรมนี (22 มิถุนายน) |
Fridolina Rolfö | ใน รอบ 16 ทีมสุดท้าย พบกับ แคนาดา (24 มิถุนายน) ใน รอบก่อนรองชนะเลิศ พบกับ เยอรมนี (29 มิถุนายน) |
รอบรองชนะเลิศ พบกับ เนเธอร์แลนด์ (3 กรกฎาคม) |
Millie Bright | ใน รอบรองชนะเลิศ พบกับ สหรัฐ (2 กรกฎาคม) | รอบชิงอันดับที่ 3 พบกับ สวีเดน (6 กรกฎาคม) |
จำนวนเงินรางวัลได้ประกาศในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2018.[63]
ตำแหน่ง | มูลค่าเงินรางวัล (ล้าน USD) | |
---|---|---|
ต่อทีม | ทั้งหมด | |
แชมเปียนส์ | 4 | 4 |
รองชนะเลิศ | 2.6 | 2.6 |
อันดับ 3 | 2 | 2 |
อันดับ 4 | 1.6 | 1.6 |
อันดับ 5–8 (รอบก่อนรองชนะเลิศ) | 1.45 | 5.8 |
อันดับ 9–16 (รอบ 16 ทีมสุดท้าย) | 1 | 8 |
อันดับ 17–24 (รอบแบ่งกลุ่ม) | 0.75 | 6 |
ทั้งหมด | 30 |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศจำหน่ายลิขสิทธิ์การถ่ายทอดโทรทัศน์ ให้แก่บริษัท บางกอกมีเดียแอนด์บรอดคาสติง จำกัด (PPTV) ร่วมกับ บีอินสปอตส์ (BeIn Sports) ได้รับลิขสิทธิ์เพียงผู้เดียวในการถ่ายทอดการแข่งขันฟีฟ่าฟุตบอลโลกหญิง 2019 ผ่านทาง สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี โดย7มีการถ่ายทอดสดกลับมายังประเทศไทยทั้งหมด 7 นัดรวมถึงนัดที่ทีมชาติไทยแข่งขัน ผ่านทางช่อง PPTV HD และ ทางเว็บไซต์ pptvhd36.com จากทั้งหมด 52 นัดของรายการแข่งขัน และ การถ่ายทอดสดทุกนัดจะไม่มีโฆษณาคั่น
สำหรับรายการถ่ายทอดสดฟุตบอลโลกหญิง 2019 มีดังนี้
วันที่ | ทีม | เวลา |
---|---|---|
8 มิถุนายน | ฝรั่งเศส พบ เกาหลีใต้ | 01:30-04:00 |
12 มิถุนายน | สหรัฐ พบ ไทย | 01:30-04:00 |
16 มิถุนายน | สวีเดน พบ ไทย | 19:30-22:00 |
21 มิถุนายน | ไทย พบ ชิลี | 01:30-04:00 |
2 กรกฎาคม | รอบรองชนะเลิศ (คู่แรก) อังกฤษ พบ สหรัฐ | 01:30-04:00 |
3 กรกฎาคม | รอบรองชนะเลิศ (คู่ที่สอง) เนเธอร์แลนด์ พบ สวีเดน | 01:30-04:00 |
7 กรกฎาคม | นัดชิงชนะเลิศ สหรัฐ พบ เนเธอร์แลนด์ | 21:30-00:00 |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.