เกมหมากรุกแห่งศตวรรษ (อังกฤษ: The Game of the Century) เป็นการแข่งขันหมากรุกระหว่าง บ็อบบี ฟิชเชอร์ กับ โดนัล เบิร์น (Donald Byrne) ใน Rosenwald Memorial ทัวร์นาเม้นต์ ที่จัดขึ้น ณ สโมสรหมากรุกมาร์แชล (Marshall Chess CLub) ในมหานครนิวยอร์กเมื่อปี ค.ศ. 1956 ในขณะที่ บ็อบบี ฟิชเชอร์ มีอายุได้เพียง 13 ปี. ชัยชนะของฟิชเชอร์ซึ่งเป็นเด็กอายุเพียง 13 ปี ต่อ โดนัล เบิร์น ซึ่งเป็นนักหมากรุกอันดับต้น ๆ ของสหรัฐอเมริกาในขณะนั้น ทำให้วงการหมากรุกตกตะลึงในทักษะการเดินหมากที่สวยงามและสร้างสรรค์ของฟิชเชอร์ จนนิตยสารหมากรุกชั้นนำอย่าง Chess Review ได้ขนานนามการแข่งขันแมตช์นี้ว่า "เกมแห่งศตวรรษ" และทำให้ บ็อบบี ฟิชเชอร์ มีชื่อเสียงไปทั่วทั้งวงการหมากรุกในฐานะนักหมากรุกอัฉริยะรุ่นเยาว์ (chess prodigy).
โดนัล เบิร์น - บ็อบบี ฟิชเชอร์
นิวยอร์ค, ตุลาคม ค.ศ. 1956 (โรเซนวัลด์ เมมโมเรียล), รอบที่ 8
กรุนเฟล ดีเฟนส์
1. Nf3 Nf6; 2. c4 g6; 3. Nc3 Bg7; 4. d4 0-0
ฟิชเชอร์เริ่มเกมด้วยหลักการแบบไฮเปอร์โมเดิร์น เพื่อเชื้อเชิญให้เบิร์นเดินเบี้ยมาคุมพื้นที่กลางกระดาน.
5. Bf4 d5; 6. Qb3 dxc4
ฟิชเชอร์พยายามโต้แย้งพื้นที่กลางกระดานด้วยการเดินเบี้ยไป d5 แต่เบิร์นกดดันตำแหน่ง d5 ด้วย Qb3 ฟิชเชอร์จึงยอมละพื้นที่.
7. Qxc4 c6; 8. e4 Nbd7; 9. Rd1 Nb6; 10. Qc5?
เบิร์นขยับควีนเข้ามาอยู่ในตารางที่ล่อแหลมทำให้ บ็อบบี เริ่มได้เปรียบเพราะหมากของบ็อบบีได้รับการพัฒนามากกว่า และคิงของฝ่ายดำก็เข้าป้อม (แคสเซิ่ล) แล้ว.
10. ... Bg4; 11. Bg5? (ดูตาราง)
เบิร์นเคลื่อนบิชอปไป g5 เพื่อตรึงอัศวินของดำไว้ที่ไฟล์ f ไม่ให้ดำพัฒนาเบี้ยมา e5 ได้
| a | b | c | d | e | f | g | h | |
8 | | 8 |
7 | 7 |
6 | 6 |
5 | 5 |
4 | 4 |
3 | 3 |
2 | 2 |
1 | 1 |
| a | b | c | d | e | f | g | h | |
ตำแหน่งหมากหลังจาก 11.Bg5
11... Na4 !!
- การเคลื่อนหมากที่ยอดเยี่ยมของบ็อบบี "หนึ่งในการเดินหมากที่ทรงพลังที่สุดตลอดกาล". [1] บ็อบบีคิดกลยอมเสียสละอัศวิน (knight sacrifice) อย่างชาญฉลาด หากเบิร์นยอมเล่น 12.Nxa4, บ็อบบีก็จะตอบโต้ด้วย 12...Nxe4, และจะนำเบิร์นไปสู่สถานการณ์ลำบาก เช่น
- 13.Qxe7 Qa5+ 14.b4 Qxa4 15.Qxe4 Rfe8 16.Be7 Bxf3 17.gxf3 Bf8 อันเป็นการตรึงหมากของฝ่ายขาวไว้; หรือ
- 13.Qb4 Nxg5 14.Nxg5 Bxd1 15.Kxd1 Bxd4 16.Qd2 Bxf2 ฝ่ายดำได้เปรียบจำนวนหมาก.
12. Qa3 Nxc3 13. bxc3 Nxe4!
- บ็อบบีเสนอสังเวยหมากของตนอี เพื่อจะเปิดไฟล์ e แล้วเข้าโจมตีคิงของฝ่ายขาวที่ไม่ได้เข้าป้อม
14. Bxe7 Qb6 15. Bc4
- แต่เบิร์นไม่หลงกลบ็อบบี.
15... Nxc3!
- หมากนี้ทำให้สถานการณ์ของฝ่ายดำเป็นต่อหาก 16.Qxc3 Rfe8 และ 16.Bxf8 Bxf8.[2]
16. Bc5 Rfe8+ 17. Kf1 (ดู ตารางประกอบ)
| a | b | c | d | e | f | g | h | |
8 | | 8 |
7 | 7 |
6 | 6 |
5 | 5 |
4 | 4 |
3 | 3 |
2 | 2 |
1 | 1 |
| a | b | c | d | e | f | g | h | |
หลังจาก 17.Kf1. แทนที่จะปกป้อนควีนของตน, ฝ่ายดำสามารถเปิดการโจมตีแบบสวนกลับได้ด้วย 17...Be6!!
- เบิร์นขู่ว่าจะกินควีนของบ็อบบี บ็อบบีจึงนำเรือ (rook) เข้ามาสู่เกม โดยเคลื่อนเรือเข้าโจมตีคิงของฝ่ายขาว. ณ ขณะนี้ฝ่ายขาวกำลังได้เปรียบ เพราะเบิร์นสามารถจะเดิน 18.Qxc3 แล้วได้เปรียบจำนวนหมาก (material advantage).[3]
17... Be6!!
- นี่คือการเดินหมากที่ทำให้เกมนี้มีชื่อเสียง โดยแทนที่จะปกป้องควีนของตน ฝ่ายดำ (บ็อบบี) เสนอที่จะยกควีนของตนให้ฝ่ายขาวไปเปล่า ๆ.
18. Bxb6?
- ฝ่ายขาวยอมรับการสังเวยหมาก (queen sacrifice) ของบ็อบบี. ถ้าหากขาวไม่รับหมากสังเวยของฝ่ายดำ แต่จะเดิน 18. Bxe6, ก็จะเป็นผลให้ 18. ... Qb5+! 19. Kg1 Ne2+ 20. Kf1 Ng3+ 21. Kg1 Qf1+! และตามด้วยการรุกจนแบบ ขุนขาดอากาศตาย 22. Rxf1 Ne2#.
18... Bxc4+
- บ็อบบีเริ่มยุทธวิธี "กังหันลม" ด้วยการเข้ารุกแบบเปิดทางเพื่อโจมตี (discovered check) คิงของฝ่ายขาวเป็นชุด.
19. Kg1 Ne2+ 20. Kf1 Nxd4+ 21. Kg1
- 21.Rd3? axb6 22.Qc3 Nxf3 23.Qxc4 Re1# (ฟิชเชอร์).
21... Ne2+ 22. Kf1 Nc3+ 23. Kg1 axb6
- บ็อบบีเข้าจับหมากฝ่ายขาวเป็นเชลย พร้อมกับเข้าโจมตีควีนของฝ่ายขาว.
24. Qb4 Ra4!
- Fischer's pieces cooperate nicely: the bishop on g7 protects the knight on c3, which protects the rook on a4, which in turn protects the bishop on c4 and forces Byrne's queen away. Perhaps Byrne overlooked this move when analyzing 18.Bxb6, expecting instead 24...Nxd1? 25.Qxc4, which is much less clear. Otherwise, it is hard to explain why Byrne played 18.Bxb6, since Black now has a clear แม่แบบ:Chessgloss.
25. Qxb6
- Trying to protect his rook with 25.Qd6 loses the queen to 25...Nxd1 26.Qxd1 Rxa2 threatening 27...Ra1.[2]
25... Nxd1 (see diagram)
| a | b | c | d | e | f | g | h | |
8 | | 8 |
7 | 7 |
6 | 6 |
5 | 5 |
4 | 4 |
3 | 3 |
2 | 2 |
1 | 1 |
| a | b | c | d | e | f | g | h | |
After 25...Nxd1. Fischer has more than enough material for his sacrificed queen.
- Fischer has gained a rook, two bishops, and a pawn for his sacrificed queen, leaving him ahead the equivalent, roughly, of one แม่แบบ:Chessgloss – an easily winning advantage in master play. White's queen is far outmatched by Black's pieces, which dominate the board and will soon overrun White's position. Moreover, Byrne's remaining rook is stuck on h1 and it will take precious time (and the loss of the pawn on f2) to free it. Byrne could have แม่แบบ:Chessgloss here, but chose to play on until checkmate, as a courtesy to Fischer's skill.[4]
26. h3 Rxa2 27. Kh2 Nxf2 28. Re1 Rxe1 29. Qd8+ Bf8 30. Nxe1 Bd5 31. Nf3 Ne4 32. Qb8 b5
- Note that every piece and pawn of Black's is defended, leaving White's queen with nothing to do.
33. h4 h5 34. Ne5 Kg7
- Fischer breaks the pin, allowing the bishop to attack as well.
35. Kg1 Bc5+ (see diagram)
| a | b | c | d | e | f | g | h | |
8 | | 8 |
7 | 7 |
6 | 6 |
5 | 5 |
4 | 4 |
3 | 3 |
2 | 2 |
1 | 1 |
| a | b | c | d | e | f | g | h | |
After 35...Bc5+. Mate is inevitable.
- Now Fischer uses his pieces in concert to force mate.
36. Kf1 Ng3+ 37. Ke1 Bb4+
- Kmoch notes that with 37...Re2+ Fischer could have mated a move sooner.[5]
38. Kd1 Bb3+ 39. Kc1 Ne2+ 40. Kb1 Nc3+ 41. Kc1 Rc2แม่แบบ:ChessAN แม่แบบ:ChessAN
| a | b | c | d | e | f | g | h | |
8 | | 8 |
7 | 7 |
6 | 6 |
5 | 5 |
4 | 4 |
3 | 3 |
2 | 2 |
1 | 1 |
| a | b | c | d | e | f | g | h | |
Final position after 41...Rc2# (a pure mate)
Rowson, Jonathan (1999). Understanding the Grünfeld. Gambit Publications. p. 17. ISBN 1-901983-09-9.
Jack Straley Battell, Collier's Encyclopedia Vol 6 (1966), p 196
One of Byrne's chess students related later why he played on: "First of all, you have to remember that in 1956 no one knew that Bobby Fischer was going to become Bobby Fischer! He was just a very promising 13-year-old kid who played a great game against me. When it got to the position where I was lost, I asked some of the other competitors if it might be a nice thing to let the kid mate me, as a kind of tribute to the fine game he played. They said, 'Sure, why not?' and so I did." Tim Krabbé, Open Chess Diary (scroll down to No. 241) (quoting Don Heisman).
Horowitz and Battell (1965), p. 330.