Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไอ้หนูแข้งทอง (ญี่ปุ่น: ホイッスル!; โรมาจิ: Hoissuru!) เป็นซีรีส์มังงะญี่ปุ่นที่เขียนและวาดภาพโดยไดซูเกะ ฮิงูจิ ตีพิมพ์ในโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ของชูเอชะในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1998 ถึงตุลาคม ค.ศ. 2002 จากนั้นจึงนำไปนำเป็นอนิเมะ 39 ตอนที่ออกอากาศในช่อง Animax ทั่วญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ จากนั้นจึงมีการทำภาคต่อชื่อ Whistle! W ลงในUra Sunday และ MangaONE ของโชงากูกังในเดือนกันยายน ค.ศ. 2016 ถึงเมษายน ค.ศ. 2021
ไอ้หนูแข้งทอง | |
ホイッスル! (Hoissuru!) | |
---|---|
ชื่อภาษาอังกฤษ | Whistle! |
แนว | กีฬา |
มังงะ | |
เขียนโดย | ไดซูเกะ ฮิงูจิ |
สำนักพิมพ์ | ชูเอชะ เนชั่น แอดดูเทนเม้นท์ |
สำนักพิมพ์ภาคภาษาอังกฤษ | |
ในเครือ | จัมพ์คอมิกส์ |
นิตยสาร | โชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ |
กลุ่มเป้าหมาย | โชเน็ง |
วางจำหน่ายตั้งแต่ | 9 มีนาคม 1998 – 21 ตุลาคม 2002 |
จำนวนเล่ม | 24 |
อนิเมะโทรทัศน์ | |
กำกับโดย | ฮิโรชิ ฟูกูโตมิ |
เขียนบทโดย | ชุนอิจิ ยูกิมูโระ |
ดนตรีโดย | โทชิฮิโกะ ซาฮาชิ |
สตูดิโอ | Studio Comet |
เครือข่าย | Animax |
ฉาย | 5 พฤษภาคม 2002 – 3 กุมภาพันธ์ 2003 |
ตอน | 39 |
เกม | |
Whistle!: Fuki Nukeru Kaze | |
ผู้จัดจำหน่าย | โคนามิ |
แนว | กีฬา |
แพลตฟอร์ม | PlayStation |
วางจำหน่ายเมื่อ | 3 มกราคม 2003 |
เกม | |
Whistle!: Dai 37-kai Tokyo-to Chuugakkou Sougou Taiiku Soccer Taikai | |
ผู้พัฒนา | Intense |
ผู้จัดจำหน่าย | โตนามิ |
แนว | กีฬา |
แพลตฟอร์ม | Game Boy Advance |
วางจำหน่ายเมื่อ | 27 กุมภาพันธ์ 2003 |
มังงะ | |
Whistle! W | |
เขียนโดย | ไดซูเกะ ฮิงูจิ |
สำนักพิมพ์ | โชงากูกัง |
ในเครือ | Ura Sunday Comics |
นิตยสาร |
|
กลุ่มเป้าหมาย | โชเน็ง |
วางจำหน่ายตั้งแต่ | 26 กันยายน 2016 – 5 เมษายน 2021 |
จำนวนเล่ม | 5 |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ไอ้หนูแข้งทอง ได้รับเสียงวิจารณ์ในทางที่ดี Greg McElhatton จาก Read About Comics กล่าวว่า มังงะ ไอ้หนูแข้งทอง มีภาพวาดที่แสดงให้เห็นว่าตัวละครเคลื่อนไหวไปพร้อมกับลูกฟุตบอลในระหว่างการแข่งขันที่ดี[1] David Welsh จาก Precocious Curmudgeon ดล่าวว่า ซีรีส์นี้น่าสนใจมากตรงที่ผู้ที่ไม่มีพื้นฐานฟุตบอลมาก่อนจะสนุกกับการอ่านมังงะ รวมถึงการใช้ภาพประกอบที่เหมือนจริง[2]
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.