อักษรกืออึซ (Ge'ez) หรือ อักษรเอธิโอเปีย พัฒนามาจากอักษรซาบาเอียน จารึกอักษรนี้ พบครั้งแรกเมื่อพ.ศ. 43 โดยเริ่มแรกมีแต่พยัญชนะ เริ่มมีสระเมื่อประมาณพ.ศ. 1900 ในรัชกาลของกษัตริย์อีซานา
อักษรกืออึซ | |
---|---|
ชนิด | |
ช่วงยุค |
|
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | ภาษากลุ่มเซมิติกเอธิโอเปีย (เช่น ภาษากืออึซ, ภาษาอามารา, ภาษาทือกรึญญา, ภาษาทือเกร, ภาษาแฮแรรี เป็นต้น), Blin, Meʼen, Oromo และAnuak |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบลูก | Amharic alphabet, และภาษาอื่นๆ ในเอธิโอเปียและเอริเทรีย |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Ethi (430), Ethiopic (Geʻez) |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Ethiopic |
ช่วงยูนิโคด |
|
ลักษณะ
เขียนจากซ้ายไปขวา แนวนอน เครื่องหมายแต่ละตัว แสดงเสียงสระประสมกับพยัญชนะ เครื่องหมายพื้นฐาน มีวิธีใช้หลายวิธี เพื่อแสดงเสียงสระต่างๆ ไม่มีระบบถ่ายเสียงเป็นอักษรโรมันที่แน่นอน
ใช้เขียน
- ภาษากืออึซ ภาษาคลาสสิกของชุมชนชาวคริสต์และชาวยิว ในเอธิโอเปีย ใช้ในทางศาสนา
- ภาษาอามารา ภาษาประจำชาติของเอธิโอเปีย มีผู้พูด 27 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ทางภาคกลางตอนเหนือ และมีผู้พูดภาษานี้ในอียิปต์ อิสราเอล และสวีเดน
- ภาษาอัฟกัน โอโรโม เป็นภาษาตระกูลคูซิติก มีผู้พูด 17 ล้านคนในเอธิโอเปีย เคนยา โซมาเลีย และอียิปต์ เขียนด้วยอักษรละติน ตั้งแต่พ.ศ. 2534
- ภาษาทือกรึญญา เป็นภาษาตระกูลเซมิติก มีผู้พูด 6.9 ล้านคน ในเอริเทรีย เอธิโอเปีย และอิสราเอล
- ภาษาบิเล็นหรือบลิน เป็นภาษาตระกูลคูซิติก มีผู้พูด 70,000 คน ในเอริเทรีย
- ภาษาเมเอ็น เป็นภาษาตระกูลนีโล-ซาฮารัน มีผู้พูด 56,600 คน ในเอธิโอเปีย
ยูนิโคด
แหล่งข้อมูลอื่น
Wikiwand in your browser!
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.