อักษรฟราเซอร์ (Fraser) หรือ อักษรลีสู่ (Lisu) ประดิษฐ์เมื่อราว พ.ศ. 2458 โดย เจมส์ ออสตรัม ฟราเซอร์ (James Ostram Fraser) มิชชันนารีผู้ทำงานกับชาวลีสู่ในจีน ตั้งแต่ พ.ศ. 2453 – 2492 ในระหว่างนั้น ฟราเซอร์หัดพูดภาษาจีนและภาษาลีสู่ เขาแปลคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษาลีสู่ด้วยอักษรของเขาและประดิษฐ์ตัวโน้ตสำหรับชาวลีสู่ด้วย พ.ศ. 2535 รัฐบาลจีนยอมรับอักษรฟราเซอร์เป็นอักษรราชการสำหรับภาษาลีสู่ ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ บางตัวถูกหมุนไปหรือกลับด้าน แสดงเสียงวรรณยุกต์ด้วยเครื่องหมายวรรคตอน

ข้อมูลเบื้องต้น อักษรฟราเซอร์/อักษรลีสู่, ชนิด ...
อักษรฟราเซอร์/อักษรลีสู่
ชนิด
อักษรสระ-พยัญชนะ
ผู้ประดิษฐ์เจมส์ ออสตรัม ฟราเซอร์
ช่วงยุค
ประมาณ พ.ศ. 2458 (ค.ศ. 1915)–ปัจจุบัน
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาลีสู่
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
อักษรประดิษฐ์ (พื้นฐานอักษรละติน)
  • อักษรฟราเซอร์/อักษรลีสู่
ยูนิโคด
ช่วงยูนิโคด
U+A4D0–U+A4FF
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ   ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ
ปิด

ใช้เขียน

ยูนิโคด

ลีสู่ (ชื่อตามมาตรฐานยูนิโคด)
Unicode.org chart (PDF)
 0123456789ABCDEF
U+A4Dx
U+A4Ex
U+A4Fx

อ้างอิง

Wikiwand in your browser!

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.

Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.

Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.