Remove ads
บทความรายชื่อวิกิมีเดีย จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โปแลนด์ถูกปกครองโดยผู้ปกครองที่มีพระยศต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นดยุก (คริสต์ศตวรรษที่ 10-14) หรือพระมหากษัตริย์ (คริสต์ศตวรรษที่ 10-18) ในภายหลังพระราชอิสริยยศ พระมหากษัตริย์แห่งโปแลนด์ (ในภายหลังควบรวมพระราชอิสริยยศ แกรนด์ดยุกแห่งลิทัวเนียด้วย) กลายเป็นตำแหน่งที่เลือกตั้งมาโดยขุนนางและสภา โดยการคัดเลือกจะมาจากขุนนางชาวโปแลนด์-ลิทัวเนียหรือเจ้านายต่างชาติ
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ราชาธิปไตย แห่งโปแลนด์ | |
---|---|
ราชาธิปไตยในอดีต | |
ตราแผ่นดินเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย | |
พระเจ้าสตาญิสวัฟที่ 2 เอากุสตุส พระมหากษัตริย์แห่งโปแลนด์และแกรนด์ดยุคแห่งลิทัวเนีย พระองค์สุดท้าย | |
| |
ปฐมกษัตริย์ | มิเอสโกที่ 1 (ในฐานะดยุกแห่งชาวโปล) |
องค์สุดท้าย | สตาญิสวัฟที่ 2 เอากุสตุส (ในฐานะพระมหากษัตริย์) |
อิสริยยศ | รอยัล เมเจสตี้ (HRM) Wasza Królewska Mość เซอรีนไฮเนส Jaśnie Panujący Mości เกรซ (HG) Wasza Miłość ไฮเนส (HH) Wasza Wysokość |
สถานพำนัก | ปราสาทวาเวล พระราชวังหลวง, วอร์ซอ พระราชวังวิลลานอฟ |
ผู้แต่งตั้ง | สืบบัลลังก์ตามกฎมณเฑียรบาล เลือกโดยสภาขุนนาง |
เริ่มระบอบ | ค.ศ. 960 |
สิ้นสุดระบอบ | 7 มกราคม ค.ศ. 1791 |
ผู้อ้างสิทธิ์ | ยังคงเป็นที่ถกเถียง
|
บทความนี้รวบรวมรายพระนามผู้ปกครองในตำแหน่ง ดยุกแห่งชนโปล ดยุกแห่งโปแลนด์ใหญ่ ดยุกแห่งโปแลนด์น้อย เจ้าชายแห่งโปแลนด์ และ พระมหากษัตริย์แห่งโปแลนด์ ด้วย
พระนาม |
อายุขัย |
เริ่มรัชกาล |
สิ้นสุดรัชกาล |
หมายเหตุ |
ราชวงศ์ |
พระฉายาลักษณ์ |
---|---|---|---|---|---|---|
แลคที่ 1
|
คริสต์ศตวรรษที่ 6 | คริสต์ศตวรรษที่ 6 | คริสต์ศตวรรษที่ 6 | ผู้ก่อตั้งอาณาจักรโปแลนด์ตามตำนาน | เลชิท (ชนเผ่า) | |
กรากุสที่ 1
|
คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | ผู้ก่อตั้งในตำนานของเมือง กรากุฟ | เลชิท (ชนเผ่า) | |
กรากุสที่ 2
|
คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | พระโอรสองค์รองของกรากุส | เลชิท (ชนเผ่า) | |
แลคที่ 2
|
คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | พระโอรสองค์โตในกรากุสและพระเชษฐาของกรากุสที่ 2 | เลชิท (ชนเผ่า) | |
แวนดา
|
คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | พระราชธิดาในกรากุสที่ 2 | เลชิท (ชนเผ่า) | |
เลสโคที่ 1
|
คริสต์ศตวรรษที่ 7/ คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 7/ คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 7[1] / คริสต์ศตวรรษที่ 8 | ผู้ปกครองกึ่งตำนานของชาวสลาวิกตะวันตก ("โปรโต-โปลิช") เผ่า กอร์พลัน และ โปลลันด์ | กอร์พลัน และ โปลลันด์ (ชนเผ่า) | |
เลสโคที่ 2
|
คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | ผู้ปกครองกึ่งตำนานของชาวสลาวิกตะวันตก ("โปรโต-โปลิช") เผ่า กอร์พลัน และ โปลลันด์ | โปเปลสลิด | |
เลสโคที่ 3
|
คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | ผู้ปกครองกึ่งตำนานของชาวสลาวิกตะวันตก ("โปรโต-โปลิช") เผ่า กอร์พลัน และ โปลลันด์ | โปเปลสลิด | |
โปลเปลที่ 1
|
คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | คริสต์ศตวรรษที่ 8 | ผู้ปกครองกึ่งตำนานของชาวสลาวิกตะวันตก ("โปรโต-โปลิช") เผ่า กอร์พลัน และ โปลลันด์ | โปเปลสลิด | |
โปลเปลที่ 2
|
คริสต์ศตวรรษที่ 9 | คริสต์ศตวรรษที่ 9 | คริสต์ศตวรรษที่ 9 | ผู้ปกครองกึ่งตำนานของชาวสลาวิกตะวันตก ("โปรโต-โปลิช") เผ่า กอร์พลัน และ โปลลันด์ | โปเปลสลิด | |
เพียส ช่างทำเพลาเกวียน
|
คริสต์ศตวรรษที่ 9 | คริสต์ศตวรรษที่ 9 | คริสต์ศตวรรษที่ 9 | ผู้ปกครองในตำนานของชาว โปลลันด์ พระราชโอรสในชอเรสโก พระราชบิดาของดยุคซีโมวิท ผู้ก่อตั้งราชวงศ์เปียสต์ |
เปียสต์ |
นักประวัติศาสคร์หลายคนเชื่อว่าผู้ปกครองสามพระองค์นี้อาจมีตัวตนอยู่จริง พระนามของผู้ปกครองด้านล่างนี้ได้รับการกล่าวถึงในพงศวดารโปแลนด์ที่เก่าแก่ที่สุด เกสตา ปรินซ์ซิปิคุม โปโลโนรัม (Gesta principum Polonorum) จากช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 12
พระนาม |
อายุขัย |
เริ่มรัชกาล |
สิ้นสุดรัชกาล |
หมายเหตุ |
ราชวงศ์ |
พระฉายาลักษณ์ |
---|---|---|---|---|---|---|
ดยุกมิเอสโกที่ 1
|
ประมาณ ค.ศ. 940 – 25 พฤษภาคม ค.ศ. 992 | ประมาณ ค.ศ. 960 | ค.ศ. 992 | พระราชโอรสในดยุกซีมอมิซูว์ ผู้ปกครองชาวโปลที่นับถือศาสนาคริสต์พระองค์แรก Misico, dux Wandalorum |
เปียสต์ | |
พระเจ้าโบเลสวัฟที่ 1 ผู้กล้าหาญ
|
ค.ศ. 967 – 17 มิถุนายน ค.ศ. 1025 | ดยุก: ค.ศ. 992 กษัตริย์: 18 เมษายน ค.ศ. 1025 |
ดยุก: 18 เมษายน ค.ศ. 1025 กษัตริย์: 17 มิถุนายน ค.ศ. 1025 |
พระราชโอรสในดยุกมิเอสโกที่ 1 และโดบราฟกาแห่งโบฮีเมีย ผู้ปกครองพระองค์แรกที่ได้รับการราชาภิเษกเป็นกษัตริย์ Regnum Sclavorum, Gothorum sive Polonorum |
เปียสต์ | |
พระเจ้ามิเอสโกที่ 2 แลมเบิรต์
|
ประมาณ ค.ศ. 990 – 10/11 พฤษภาคม ค.ศ. 1034 | ค.ศ. 1025 | ค.ศ. 1031 | พระราชโอรสในพระเจ้าโบเลสวัฟที่ 1 และเอ็มมานิลดาแห่งลูซาเทีย | เปียสต์ | |
เบสปริม
|
ประมาณ ค.ศ. 986– ค.ศ. 1032 | ค.ศ. 1031 | ค.ศ. 1032 | พระราชโอรสในพระเจ้าโบเลสวัฟที่ 1 และจูดิธแห่งฮังการี | เปียสต์ | |
ออตโต โบเรสลสโวลิก
|
ค.ศ. 1000–ค.ศ. 1033 | ค.ศ. 1032 | ค.ศ. 1032 | พระราชโอรสพระเจ้าโบเลสวัฟที่ 1 และเอ็มมานิลดาแห่งลูซาเทีย | เปียสต์ | |
ดีทริก
|
หลัง ค.ศ. 992 – หลัง ค.ศ. 1032 | ค.ศ. 1032 | ค.ศ. 1032 /1033 | พระราชนัดดาในดยุกมิเอสโกที่ 1 และโอดาแห่งไฮเดนเลสเปิน | เปียสต์ | |
ดยุกมิเอสโกที่ 2 แลมเบิรต์
|
ประมาณ ค.ศ. 990 – 10/11 พฤษภาคม 1034 | ค.ศ. 1032 | ค.ศ. 1034 | ได้รับการฟื้นฟู | เปียสต์ | |
โบเรสเลาสผู้ถูกลืม
|
ก่อน ค.ศ. 1016 – 1038 หรือ 1039 | ค.ศ. 1034 | ค.ศ. 1038 /1039 | กึ่งตำนาน, ยังคงเป็นที่ถกเถียง | เปียสต์ | |
ดยุกกาชีมีแยชที่ 1 ผู้ฟื้นฟู
|
25 มิถุนายน ค.ศ. 1016 ปี) | – 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1058 (42ค.ศ. 1039 | ค.ศ. 1058 | พระราชโอรสในดยุกมิเอสโกที่ 2 และริเซ่นซ่าแห่งโลธาริงเกีย | เปียสต์ | |
พระเจ้าโบเลสวัฟที่ 2 ผู้อารี
|
ประมาณ ค.ศ. 1041 หรือ 1042 – 2 หรือ 3 เมษายน ค.ศ. 1081 หรือ 1082 | ดยุก: ค.ศ. 1058 กษัตริย์: ค.ศ. 1076 |
ดยุก: ค.ศ. 1076 กษัตริย์: ค.ศ. 1079 |
พระราชโอรสในดยุกกาชีมีแยชที่ 1 และมารีเยีย โดบินีเกอแห่งเคียฟ | เปียสต์ | |
ดยุกววาดือสวัฟที่ 1 เฮอร์มัน
|
ประมาณ ค.ศ. 1044 – 4 มิถุนายน 1102 | ค.ศ. 1079 | ค.ศ. 1102 | พระราชโอรสในดยุกกาชีมีแยชที่ 1 และมารีเยีย โดบินีเกอแห่งเคียฟ | เปียสต์ | |
ซีบิกนิว
|
ประมาณ ค.ศ. 1073 – 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1113 | ค.ศ. 1102 | ค.ศ. 1107 | พระราชโอรสในดยุกววาดือสวัฟที่ 1 และเพรซเลวาแห่งตระกูลเพาดิซิก (ยังคงเป็นที่ถกเถียง) ปกครองร่วมกับดยุกววาดือสวัฟที่ 1 ในระหว่าง ค.ศ. 1098-1102 |
เปียสต์ | |
ดยุกโบเรสเลาสที่ 3 พระโอษฐ์เบี้ยว
|
20 สิงหาคม ค.ศ. 1086 ปี) | – 28 ตุลาคม ค.ศ. 1138 (52ค.ศ. 1107 | ค.ศ. 1138 | พระราชโอรสในดยุกววาดือสวัฟที่ 1 และจูดิธแห่งโบฮีเมีย ปกครองร่วมกับดยุกววาดือสวัฟที่ 1 ในระหว่าง ค.ศ. 1098-1102 ทรง แบ่งอาณาจักรให้แก่พระราชโอรสทั้งสี่หลังสวรรคต |
เปียสต์ |
พระนาม |
อายุขัย |
เริ่มรัชกาล |
สิ้นสุดรัชกาล |
หมายเหตุ |
ราชวงศ์ |
พระฉายาลักษณ์ |
---|---|---|---|---|---|---|
ดยุกววาดือสวัฟที่ 2 ผู้ถูกเนรเทศ
|
ค.ศ. 1105 – 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1159 | ค.ศ. 1138 | ค.ศ. 1146 | พระราชโอรสในดยุกโบเรสเลาสที่ 3 และไซบรีล่าแห่งเคียฟ ทรงเป็นดยุกแห่งไซลีเชียด้วย ถูกเนรเทศโดยพระอนุชา |
เปียสต์ | |
ดยุกโบเรสเลาสที่ 4 พระเกศาลอน
|
ประมาณ ค.ศ. 1125 – 5 มกราคม ค.ศ. 1173 | ค.ศ. 1146 | ค.ศ. 1173 | พระราชโอรสในดยุกโบเรสเลาสที่ 3 และซาโลเมียแห่งเบิร์ก ทรงเป็นดยุกแห่งมาโซเวียด้วย |
เปียสต์ | |
ดยุกมิเอสโกที่ 3 ผู้ชราภาพ
|
ประมาณ ค.ศ. 1127 – 13 มีนาคม ค.ศ. 1202 | ค.ศ. 1173 | ค.ศ. 1177 | พระราชโอรสในดยุกโบเรสเลาสที่ 3 และซาโลเมียแห่งเบิร์ก ทรงเป็นดยุกแห่งโปแลนด์ใหญ๋ด้วย |
เปียสต์ | |
ดยุกกาชีมีแยชที่ 2 ผู้ยุติธรรม
|
ประมาณ ค.ศ. 1138 – 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1194 | ค.ศ. 1177 | ค.ศ. 1190 | พระราชโอรสในดยุกโบเรสเลาสที่ 3 และซาโลเมียแห่งเบิร์ก ทรงเป็นดยุกแห่งวิสซิลิกาและซาโดเมียซด้วย |
เปียสต์ | |
ดยุกมิเอสโกที่ 3 ผู้ชราภาพ
|
ประมาณ ค.ศ. 1127 – 13 มีนาคม ค.ศ. 1202 | ค.ศ. 1190 | ค.ศ. 1190 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ | |
ดยุกกาชีมีแยชที่ 2 ผู้ยุติธรรม
|
ประมาณ ค.ศ. 1138 – 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1194 | ค.ศ. 1190 | ค.ศ. 1194 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ | |
ดยุกเลสเซ็คที่ 1 พระองค์ขาว
|
ประมาณ ค.ศ. 1186 – 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1227 | ค.ศ. 1194 | ค.ศ. 1198 | พระราชโอรสในดยุกาชีมีแยชที่ 2 และเฮเลนแห่งสโนเจโม ทรงเป็นดยุกแห่งซาโดเมียซด้วย |
เปียสต์ | |
ดยุกมิเอสโกที่ 3 ผู้ชราภาพ
|
ประมาณ ค.ศ. 1127 – 13 มีนาคม ค.ศ. 1202 | ค.ศ. 1198 | ค.ศ. 1199 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ | |
ดยุกเลสเซ็คที่ 1 พระองค์ขาว
|
ประมาณ ค.ศ. 1186 – 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1227 | ค.ศ. 1199 | ค.ศ. 1199 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ | |
ดยุกมิเอสโกที่ 3 ผู้ชราภาพ
|
ประมาณ ค.ศ. 1127 – 13 มีนาคม ค.ศ. 1202 | ค.ศ. 1199 | ค.ศ. 1202 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ | |
ดยุกววาดือสวัฟที่ 3 พระเพลายาว
|
ประมาณ ค.ศ. 1161/66 – 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1231 | ค.ศ. 1202 | ค.ศ. 1202 | พระราชโอรสในดยุกมิเอสโกที่ 3 และเยฟโคคิยาแห่งเคียฟ ทรงเป็นดยุกแห่งโปแลนด์ใหญ๋ด้วย |
เปียสต์ | |
ดยุกเลสเซ็คที่ 1 พระองค์ขาว
|
ประมาณ ค.ศ. 1186 – 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1227 | ค.ศ. 1202 | ค.ศ. 1210 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ | |
ดยุกมิเอสโกที่ 4 แทงเกิลฟุต
|
ประมาณ ค.ศ. 1130 – 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1211 | ค.ศ. 1210 | ค.ศ. 1211 | พระราชโอรสในดยุกววาดือสวัฟที่ 2 และแอกเนสแห่งบาเบนแบร์ก ทรงเป็นดยุกแห่งไซลีเชียด้วย |
เปียสต์ | |
ดยุกเลสเซ็คที่ 1 พระองค์ขาว
|
ประมาณ ค.ศ. 1186 – 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1227 | ค.ศ. 1211 | ค.ศ. 1225 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ | |
ดยุกเฮนริคที่ 1 พระมัสสุดก
|
ประมาณ ค.ศ. 1165 – 19 มีนาคม ค.ศ. 1238 | ค.ศ. 1225 | ค.ศ. 1225 | พระราชนัดดาในดยุกววาดือสวัฟที่ 2 พระโอรสในดยุกโบเรสเลาสที่ 1 แหงวรอตซวาฟ และดัชเชสคริสติญ่า ทรงเป็นดยุกแห่งไซลีเชียด้วย |
เปียสต์ | |
ดยุกเลสเซ็คที่ 1 พระองค์ขาว
|
ประมาณ ค.ศ. 1186 – 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1227 | ค.ศ. 1225 | ค.ศ. 1227 | หวนคืนบัลลังก์ ถูกลอบปลงพระชนม์ |
เปียสต์ | |
ดยุกววาดือสวัฟที่ 3 พระเพลายาว
|
ประมาณ ค.ศ. 1161/66 – 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1231 | ค.ศ. 1227 | ค.ศ. 1229 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ | |
ดยุกคอนราดที่ 1 แห่งมาโซเวีย
|
ประมาณ ค.ศ. 1187/88 – 31 สิงหาคม ค.ศ. 1247 | ค.ศ. 1229 | 1232 | พระราชโอรสในดยุกาชีมีแยชที่ 2 และเฮเลนแห่งสโนเจโม ทรงเป็นดยุกแห่งมาโซเวียด้วย |
เปียสต์ | |
ดยุกเฮนริคที่ 1 พระมัสสุดก
|
ประมาณ ค.ศ. 1165 – 19 มีนาคม ค.ศ. 1238 | ค.ศ. 1232 | ค.ศ. 1238 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ | |
ดยุกเฮนริคที่ 2 ผู้เคร่งศีล
|
ประมาณ ค.ศ. 1196 – 9 เมษายน ค.ศ. 1241 | ค.ศ. 1238 | ค.ศ. 1241 | พระราชโอรสในดยุกเฮนริคที่ 1 และนักบุญเฮ็ดวิกแห่งไซลีเชีย ทรงเป็นดยุกแห่งวรอตซวาฟและโปแลนด์ใหญ่ด้วย สวรรคตในยุทธการแห่งไซนีกา |
เปียสต์ | |
ดยุกโบเรสเลาสที่ 2 รอแกตตา
|
ประมาณ ค.ศ. 1220– ค.ศ. 1225 | ค.ศ. 1241 | ค.ศ. 1241 | พระราชโอรสในดยุกเฮนริคที่ 2 และอานแห่งโบฮีเมีย ทรงเป็นดยุกแห่งไซลีเชียด้วย |
เปียสต์ | |
ดยุกคอนราดที่ 1 แห่งมาโซเวีย
|
ประมาณ ค.ศ. 1187/88 – 31 สิงหาคม ค.ศ. 1247 | ค.ศ. 1241 | ค.ศ. 1243 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ | |
ดยุกโบเรสเลาสที่ 5 ผู้ดีงาม
|
21 มิถุนายน ค.ศ. 1226 – 7 ธันวาคม ค.ศ. 1279 | ค.ศ. 1243 | ค.ศ. 1279 | พระราชโอรสในดยุกเลสเซ็คที่ 1 และกรือมีสลาวาแห่งลัค | เปียสต์ | |
ดยุกเลสเซ็คที่ 2 พระองค์ดำ
|
ประมาณ ค.ศ. 1241 – 30 กันยายน ค.ศ. 1288 | ค.ศ. 1279 | ค.ศ. 1288 | พระนัดดา (หลานปู๋) ในดยุกคอนราดที่ 1 แห่งมาโซเวีย พระนัดดา (หลานตา) ในดยุกเฮนริคที่ 2 พระโอรสในดยุกกาชีมีแยชที่ 1 แห่งคูยาเวีย และกอนสตันต์เซียแห่งวรอตซวาฟ |
เปียสต์ | |
ดยุกโบเรสเลาสที่ 2 แห่งมาโซเวีย
|
ประมาณ ค.ศ. 1251 – 20 เมษายน ค.ศ. 1313 | ค.ศ. 1288 | ค.ศ. 1288 | พระนัดดาในดยุกคอนราดที่ 1 แห่งมาโซเวีย ทรงเป็นดยุกแห่งมาโซเวียด้วย |
เปียสต์ | |
ดยุกเฮนริคที่ 4 ผู้ชอบธรรม
|
ประมาณ ค.ศ 1257/58 – 23 มิถุนายน ค.ศ. 1290 | ค.ศ. 1288 | ค.ศ. 1289 | พระนัดดา (หลานปู่) ในดยุกเฮนริคที่ 2 พระนัดดา (หลานตา) ในดยุกคอนราดที่ 1 แห่งมาโซเวีย พระโอรสใน ดยุกเฮนริคที่ 3 แห่งไซลีเชีย-วรอตซวาฟ และจูดิธ่าแห่งมาโซเวีย ทรงเป็นดยุกแห่งไซลีเชียล่างด้วย |
เปียสต์ | |
ดยุกโบเรสเลาสที่ 2 แห่งมาโซเวีย
|
ประมาณ ค.ศ. 1251 – 20 เมษายน ค.ศ. 1313 | ค.ศ. 1289 | ค.ศ. 1289 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ | |
ดยุกววาดือสวัฟที่ 1 พระกโบรสูง
|
ค.ศ. 1261 – 2 มีนาคม 1333 | ค.ศ. 1289 | ค.ศ. 1289 | พระนัดดาในดยุกคอนราดที่ 1 แห่งมาโซเวีย พระโอรสในดยุกกาชีมีแยชที่ 1 แห่งคูยาเวียและอุปโซเน่แห่งโอปอเล |
เปียสต์ | |
ดยุกเฮนริคที่ 4 ผู้ชอบธรรม
|
ประมาณ ค.ศ 1257/58 – 23 มิถุนายน ค.ศ. 1290 | ค.ศ. 1289 | ค.ศ. 1290 | หวนคืนบัลลังก์ | เปียสต์ |
พระนาม |
อายุขัย |
เริ่มรัชกาล |
สิ้นสุดรัชกาล |
หมายเหตุ |
ราชวงศ์ |
พระฉายาลักษณ์ |
---|---|---|---|---|---|---|
พระเจ้าวาตสลัฟที่ 2 แห่งโบฮีเมีย
|
27 กันยายน ค.ศ. 1271 ปี) | – 21 มิถุนายน ค.ศ. 1305 (33จอมดยุก: ค.ศ. 1291 กษัตริย์: ค.ศ. 1300 |
จอมดยุก: ค.ศ. 1300 กษัตริย์: ค.ศ.1305 |
พระราชโอรสในพระเจ้าออทโทคาร์ที่ 2 แห่งโบฮีเมียและคูนิกาดาแห่งเฮลีซ ทรงอภิเษกสมรสรสกับอลิซาเบท ริเซนซ่าแห่งโปแลนด์พระราชธิดาในพระเจ้าเปรมิสต์ที่ 2 ทรงเป็นกษัตริย์แห่งโบฮีเมียด้วย |
เปรมิสลิด | |
พระเจ้าวาตสลัฟที่ 3 แห่งโบฮีเมีย | 06 ตุลาคม ค.ศ. 1289 ปี) | – 4 สิงหาคม ค.ศ. 1306 (16ค.ศ. 1305 | ค.ศ. 1306 | พระราชโอรสในพระเจ้าวาตสลัฟที่ 2 และจูดิธแห่งฮาพส์บวร์ค ไม่ได้รับการราชาภิเษก ทรงถูกลอบปลงพระชนม์ |
เปรมิสลิด |
พระนาม |
อายุขัย |
เริ่มรัชกาล |
สิ้นสุดรัชกาล |
หมายเหตุ |
ราชวงศ์ |
พระฉายาลักษณ์ |
---|---|---|---|---|---|---|
พระเจ้าววาดือสวัฟที่ 1 พระกโบรสูง
|
ค.ศ. 1261 – 2 มีนาคม ค.ศ. 1333 | ค.ศ. 1320 | ค.ศ. 1333 | หวนคืนบัลลังก์ ผู้รวมแผ่นดินโปแลนด์ให้เป็นหนึ่งอีกครั้ง |
เปียสต์ | |
พระเจ้ากาชีมีแยชที่ 3 มหาราช
|
30 เมษายน ค.ศ. 1310 ปี) | – 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1370 (60ค.ศ. 1333 | ค.ศ. 1370 | พระราชโอรสในพระเจ้าววาดือสวัฟที่ 1 และยัดวิกาแห่งคลินซ์ ถือกันว่าเป็นหนึ่งในกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โปแลนด์ |
เปียสต์ |
พระนาม |
อายุขัย |
เริ่มรัชกาล |
สิ้นสุดรัชกาล |
หมายเหตุ |
ราชวงศ์ |
พระฉายาลักษณ์ |
---|---|---|---|---|---|---|
พระเจ้าลุดวิกที่ 1 แห่งฮังการี
|
5 มีนาคม ค.ศ. 1326 ปี) | – 10 กันยายน ค.ศ. 1382 (56ค.ศ. 1370 | ค.ศ. 1382 | พระราชโอรสในพระเจ้าคาร์ลที่ 1 แห่งฮังการี และเอลิซาเบธแห่งโปแลนด์ พระภาคิไนยในพระเจ้ากาชีมีแยชที่ 3 ไดรับเลือกเป็นกษัตริย์และราชาภิเษกเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฮังการีด้วย |
อ็องฌู | |
สมเด็จพระราชินีนาถเจดวิกา | ค.ศ. 1373/4 – 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1399 | 16 ตุลาคม ค.ศ. 1384 | 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1399 | พระราชธิดาในพระเจ้าลุดวิกที่ 1 และเอลิซาเบธแห่งบอสเนีย ราชาภิเษกในปี ค.ศ. 1384 ทรงปกครองร่วมกับพระราชสวามี พระเจ้าววาดือสวัฟที่ 2 ยากีลโล ตั้งแต่ ค.ศ. 1386 |
อ็องฌู |
พระนาม |
อายุขัย |
เริ่มรัชกาล |
สิ้นสุดรัชกาล |
หมายเหตุ |
ราชวงศ์ |
พระฉายาลักษณ์ |
---|---|---|---|---|---|---|
พระเจ้าววาดือสวัฟที่ 2 ยากีลโล
|
ประมาณ ค.ศ. 1352/1362 – 1 มิถุนายน พ.ศ. 1434 | 4 มีนาคม ค.ศ. 1386 | 1 มิถุนายน พ.ศ. 1434 | พระราชโอรสในอัลกีร์ดัส แกรนด์ดยุกแห่งลิทัวเนียและยูลิน่าแห่งตเวียร์ ทรงเป็นแกรนด์ดยุกแห่งลิทัวเนีย ตั้งแต่ ค.ศ. 1377-1434 ทรงปกครองร่วมกับพระมเหสี สมเด็จพระราชินีนาถเจดวิกา จนถึง ค.ศ. 1399 กษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดแห่งโปแลนด์ |
ยากีลลัน | |
พระเจ้าววาดือสวัฟที่ 3
|
31 ตุลาคม ค.ศ. 1424 ปี) | – 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1444 (2025 กรกฎาคม ค.ศ. 1434 | 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1444 | พระราชโอรสในพระเจ้าววาดือสวัฟที่ 2 ยากีลโล และโซเฟียแห่งฮัสเซนี ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฮังการีในพระนาม วลาดิสเลาส์ที่ 1 สรรคต ณ ยุทธการแห่งวาร์นา ในประเทศบัลแกเรีย, จึงทรงมีพระราชสมัญญาว่า "ววาดือสวัฟแห่งวาร์นา" |
ยากีลลัน | |
พระเจ้ากาชีมีแยชที่ 4
|
30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1427 ปี) | - 7 มิถุนายน ค.ศ. 1492 (6425 มิถุนายน ต.ศ. 1447 | 7 มิถุนายน ค.ศ. 1492 | พระราชโอรสในพระเจ้าววาดือสวัฟที่ 2 ยากีลโล และโซเฟียแห่งฮัสเซนี ทรงเป็นแกรนด์ดยุกแห่งลิทัวเนียตั้งแต่ ค.ศ. 1440–92 ทรงกำราบภัยคุกคามจากอัศวินทิวทอนิก |
ยากีลลัน | |
พระเจ้ายันที่ 1 อัลเบิร์ต
|
27 ธันวาคม ค.ศ. 1459 ปี) | – 17 มิถุนายน ค.ศ. 1501 (4123 กันยายน ค.ศ. 1492 | 16 มิถุนายน ค.ศ. 1501 | พระราชโอรสใน พระเจ้ากาชีมีแยชที่ 4 และอลิซาเบทแห่งออสเตรีย | ยากีลลัน | |
พระเจ้าอเล็กซานเดอร์
|
5 สิงหาคม ค.ศ. 1461 ปี) | – 19 สิงหาคม ค.ศ. 1506 (4512 ธันวาคม ค.ศ. 1501 | 19 สิงหาคม ค.ศ. 1506 | พระราชโอรสในพระเจ้ากาชีมีแยชที่ 4 และอลิซาเบทแห่งออสเตรีย ทรงเป็นแกรนด์ดยุกแห่งลิทัวเนีย 1492-1506 |
ยากีลลัน | |
พระเจ้าซิกมุนด์ที่ 1 ผู้อาวุโส
|
01 มกราคม ค.ศ. 1467 ปี) | – 1 เมษายน ค.ศ. 1548 (818 สิงหาคม ค.ศ. 1506 | 1 เมษายน ค.ศ. 1548 | พระราชโอรสในพระเจ้ากาชีมีแยชที่ 4 และอลิซาเบทแห่งออสเตรีย ทรงเป็นแกรนด์ดยุกแห่งลิทัวเนียด้วย ทรงบังคับให้ปรัสเซียอยู่ในอาณัติ ในปี ค.ศ. 1525 ทรงผนวกดัชชีมาโซเวีย ในปี ค.ศ. 1526 ทรงเป็นเป็นพันธมิตรกับจักรพรรดิมัคซีมีลีอานที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ |
ยากีลลัน | |
พระเจ้าซิกมุนด์ที่ 2 เอากุสตุส
|
1 สิงหาคม ค.ศ. 1520 ปี) | – 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1572 (511 เมษายน ค.ศ. 1548 | 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1572 | พระราชโอรสในพระเจ้าซิกมุนด์ที่ 1 และโบนา สฟอร์ซา ทรงเป็นแกรนด์ดยุกแห่งลิทัวเนียด้วย แทนที่รัฐร่วมประมุขระหว่างราชอาณาจักรโปแลนด์และแกรนด์ดัชชีลิทัวเนียด้วยการรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรทางการเมืองที่แท้จริง (เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย) ในปี ค.ศ. 1569 และเปลี่ยนไปใช้ระบอบราชาธิปไตยโดยเลือกตั้ง |
ยากีลลัน |
พระนาม |
อายุขัย |
เริ่มรัชกาล |
สิ้นสุดรัชกาล |
หมายเหตุ |
ราชวงศ์ |
พระฉายาลักษณ์ |
---|---|---|---|---|---|---|
อ็องรี เดอ วาลัว
|
19 กันยายน ค.ศ. 1551 ปี) | – 2 สิงหาคม ค.ศ. 1589 (3721 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1574 | 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1575 | พระราชโอรสในพระเจ้าอ็องรีที่ 2 แห่งฝรั่งเศส และแคทเธอรีน เดอ เมดีชี ละทิ้งราชบัลลังก์โปแลนด์สามเดือนหลังจากราชาภิเษกเพื่อขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์ฝรั่งเศส |
วาลัว | |
สมเด็จพระราชินีนาถแอนนา
|
18 ตุลาคม ค.ศ. 1523 ปี) | – 9 กันยายน ค.ศ. 1596 (7215 ธันวาคม ค.ศ. 1575 | 12 ธันวาคม ค.ศ. 1586 | พระราชธิดาในพระเจ้าซิกมุนด์ที่ 1 และโบนา สฟอร์ซา ทรงปกครองร่วมกับพระราชสวามี สเตฟาน บาโตรี |
ยากีลลัน | |
สเตฟาน บาโตรี
|
27 กันยายน ค.ศ. 1533 ปี) | – 12 ธันวาคม ค.ศ. 1586 (5315 ธันวาคม ค.ศ. 1575 | 12 ธันวาคม ค.ศ. 1586 | บุตรชายของสเตฟานที่ 8 บาโตรี และแคทเธอรีท ทาเกลดี เจ้าชายแห่งทรานซิลเวเนีย ทรงปกครองร่วมกับพระมเหสี พระนางแอนนา |
บาโตรี | |
พระเจ้าซิกมุนด์ที่ 3
|
20 มิถุนายน ค.ศ. 1566 – 30 เมษายน ค.ศ. 1632 ปี) | (6518 กันยายน ค.ศ. 1587 | 19 เมษายน ค.ศ. 1632 | พระราชนัดดาในพระเจ้าซิกมุนด์ที่ 1 พระราชโอรสในพระเจ้าโยฮันที่ 3 แห่งสวีเดน และแคทเธอรีน ยากีลลัน ทรงเป็นกษัตริย์แห่งสวีเดน ระหว่าง ค.ศ. 1592-1599 ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์สวีเดนนับตั้งแต่ ค.ศ. 1599–1632 ในรัชสมัยของพระองค์ กองทัพโปแลนด์ สามารถยึดมอสโกได้ ทรงย้ายเมืองหลวงจากกรากุฟไปยังวอร์ซอ |
วาซา | |
พระเจ้าววาดือสวัฟที่ 4
|
9 มิถุนายน ค.ศ. 1595 – 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1648 ปี) | (528 พฤศจิกายน ค.ศ. 1632 | 20 พฤศภาคม ค.ศ. 1648 | พระราชโอรสในพระเจ้าซิกมุนด์ที่ 3 และอานาแห่งออสเตรีย ทรงเป็นผู้อ้างสิทธ์ในราชบัลลังก์รัสเซีย ระหว่าง ค.ศ. 1610–1634, ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์สวีเดนนับตั้งแต่ ค.ศ. 1632–1648 |
วาซา | |
พระเจ้ายันที่ 2 กาชีมีแยช
|
22 มีนาคม ค.ศ. 1609 ปี) | – 16 ธันวาคม ค.ศ. 1672 (6320 พฤศจิกายน ค.ศ. 1648 | 16 กันยายน ค.ศ. 1668 | พระราชโอรสในพระเจ้าซิกมุนด์ที่ 3 และคอนสแตนทซ์แห่งออสเตรีย ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์สวีเดนนับตั้งแต่ ค.ศ. 1648-1660 ทรงสละราชสมบัติ |
วาซา | |
พระเจ้ามีเคาที่ 1
|
31 พฤษภาคม ค.ศ. 1640 ปี) | – พฤศจิกายน 10, 1673 (3319 มิถุนายน ค.ศ. 1669 | 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1673 | บุตรชายของผู้บัญชาการทหารผู้ประสบความสำเร็จแต่มีข้อครหา เยเรมี วิชญอวีแยตสกี และกรือแซลดา กอนสตันต์เซีย ซามอยสกา | วิชญอวีแยตสกี | |
พระเจ้ายันที่ 3
|
17 สิงหาคม ค.ศ. 1629 ปี) | – 17 มิถุนายน ค.ศ. 1696 (6621 พฤษภาคม ค.ศ. 1674 | 17 มิถุนายน ค.ศ. 1696 | บุตรชายของจาคอป ซอบีแยสกี และโซเฟีย ทีโอฟาเลีย ดาเนียโลวิช ทรงเป็นที่รู้จักจากชัยชนะในยุทธการที่เวียนนา ในปี ค.ศ. 1683 |
ซอบีแยสกี | |
พระเจ้าออกัสตัสที่ 2 ผู้แข็งแกร่ง
|
12 พฤษภาคม ค.ศ. 1670 ปี) | – 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1733 (6215 กันยายน ค.ศ. 1697 | 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1704 (ถูกขับอออกจากราชสมบัติ) 24 กันยายน ค.ศ. 1706 (สละราชสมบัติ) |
พระราชโอรสในโยฮันน์ เกออร์กที่ 3 ผู้คัดเลือกแห่งซัคเซิน และเจ้าหญิงอันนา โซฟีแห่งเดนมาร์ก ทรงเป็นผู้คัดเลือกแห่งซัคเซิน ในพระนามฟรีดริช เอากุสท์ที่ 1 ระหว่าง ค.ศ. 1694–1733 |
เว็ททีน | |
พระเจ้าสตาญิสวัฟที่ 1
|
20 ตุลาคม ค.ศ. 1677 ปี) | – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1766 (884 ตุลาคม ค.ศ. 1705 | 8 สิงหาคม ค.ศ. 1709 | พระโอรสในราเฟล เลชชินสกี และแอนนา จาลอบสกา ทรงยอมจำนนต่อพระเจ้าออกัสตัสที่ 2 |
เลชชินสกี | |
พระเจ้าออกัสตัสที่ 2 ผู้แข็งแกร่ง
|
12 พฤษภาคม ค.ศ. 1670 ปี) | – 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1733 (628 สิงหาคม ค.ศ. 1709 | 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1733 | ได้รับการฟื้นฟู | เว็ททีน | |
พระเจ้าสตาญิสวัฟที่ 1
|
20 ตุลาคม ค.ศ. 1677 ปี) | – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1766 (8812 กันยายน ค.ศ. 1733 | 30 มิถุนายน ค.ศ. 1734 (ถูกขับอออกจากราชสมบัติ) 27 มกราคม ค.ศ. 1736 (สละราชสมบัติ) |
ได้รับการฟื้นฟู พ่ายแพ้ในสงครามสืบราชบัลลังก์โปแลนด์ ทรงดำรงพระอิสริยยศดยุกแห่งลอแรนจวบจนสวรรคต |
เลชชินสกี | |
พระเจ้าออกัสตัสที่ 3
|
17 ตุลาคม ค.ศ. 1696 – 5 ตุลาคม ค.ศ. 1763 ปี) | (6617 มกราคม ค.ศ. 1734 (ประกาศในช่วงสงครามสืบราชบัลลังก์) 30 มิถุนายน ค.ศ. 1734 (หลังได้รับชัยชนะในสงครามสืบราชบัลลังก์) |
5 ตุลาคม ค.ศ. 1763 | พระราชโอรสในพระเจ้าออกัสตัสที่ 2 และคริสทีอาเนอ เอเบอร์ฮาร์ดีเนอแห่งบรันเดินบวร์ค-ไบร็อยท์ | เว็ททีน | |
พระเจ้าสตาญิสวัฟที่ 2 เอากุสตุส
|
17 มกราคม ค.ศ. 1732 ปี) | – 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1798 (6625 พฤศจิกายน ค.ศ. 1764 | 7 มกราคม ค.ศ. 1795 | พระโอรสใน สตาญิสวัฟ ปอญาตอฟสกี และกอนสตันต์เซีย คซาทอริสกา ถูกบังคับให้สละราชสมบัติเมื่อเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย (เปลี่ยนมาใช้ระบอบ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1791) สิ้นสภาพ |
ปอญาตอฟสกี |
พระนาม |
อายุขัย |
เริ่มรัชกาล |
สิ้นสุดรัชกาล |
หมายเหตุ |
ราชวงศ์ |
พระฉายาลักษณ์ |
---|---|---|---|---|---|---|
ดยุกฟรีดริช เอากุสท์ที่ 1
|
23 ธันวาคม ค.ศ. 1750 | – 5 พฤษภาคม พ.ศ. 1827 (76 ปี)9 มิถุนายน ค.ศ. 1807 | 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 | พระราชโอรสในฟรีดริช คริสเตียน ผู้คัดเลือกแห่งซัคเซิน และดัชเชสมาเรีย แอนโทเนียแห่งบาวาเรีย ดยุกแห่งวอร์ซอ ได้รับการประกาศเป็นพระมหากษัตริย์โดยสมาพันธแห่งราชอาณาจักรโปแลนด์ ในปี ค.ศ. 1812 |
เว็ททีน |
รัฐธรรมนูญเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย ค.ศ. 1791 ระบุว่าหลังจากการสวรรคตของพระเจ้าสตาญิสวัฟที่ 2 เอากุสตุส ราชบัลลังก์โปแลนด์-ลิทัวเนีย จะถูกส่งต่อไปยังราชวงศ์เว็ททีน และการเลือกตั้งพระมหากษัตริย์จะถูกยกเลิก ทั้งนี้หากราชวงศ์ปัจจุปันไม่มีรัชทายาท สภาเซยม์จะมาประชุมกันและเลือกราชวงศ์ใหม่
พระนาม |
อายุขัย |
เริ่มรัชกาล |
สิ้นสุดรัชกาล |
หมายเหตุ |
ราชวงศ์ |
พระฉายาลักษณ์ |
---|---|---|---|---|---|---|
พระเจ้าฟรีดริช เอากุสท์ที่ 1 แห่งซัคเซิน
|
23 ธันวาคม ค.ศ. 1750 | – 5 พฤษภาคม พ.ศ. 1827 (76 ปี)22 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 | 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1827 | พระราชโอรสในฟรีดริช คริสเตียน ผู้คัดเลือกแห่งซัคเซิน และดัชเชสมาเรีย แอนโทเนียแห่งบาวาเรีย พระมหากษัตริย์แห่งซัคเซิน |
เว็ททีน | |
พระเจ้าแอนตอนแห่งซัคเซิน
|
27 ธันวาคม ค.ศ. 1755 ปี) | – 6 มิถุนายน ค.ศ. 1836 (8027 ธันวาคม ค.ศ. 1827 | 6 มิถุนายน ค.ศ. 1836 | พระราชโอรสในฟรีดริช คริสเตียน ผู้คัดเลือกแห่งซัคเซิน และดัชเชสมาเรีย แอนโทเนียแห่งบาวาเรีย พระราชอนุชาในพระเจ้าฟรีดริช เอากุสท์ที่ 1 พระมหากษัตริย์แห่งซัคเซิน |
เว็ททีน | |
พระเจ้าฟรีดริช เอากุสท์ที่ 2 แห่งซัคเซิน
|
18 พฤษภาคม ค.ศ. 1797 ปี) | – 9 สิงหาคม ค.ศ. 1854 (576 มิถุนายน ค.ศ. 1836 | 9 สิงหาคม ค.ศ. 1854 | พระราชโอรสในมัคซีมีลีอาน เจ้าชายรัชทายาทแห่งซัคเซิน และเจ้าหญิงแคโรลิน่าแห่งปาร์ม่า พระมหากษัตริย์แห่งซัคเซิน |
เว็ททีน | |
พระเจ้าโยฮันแห่งซัคเซิน
|
12 ธันวาคม ค.ศ. 1801 ปี) | – 29 ตุลาคม ค.ศ. 1873 (719 สิงหาคม ค.ศ. 1854 | 29 ตุลาคม ค.ศ. 1873 | พระราชโอรสในมัคซีมีลีอาน เจ้าชายรัชทายาทแห่งซัคเซิน และเจ้าหญิงแคโรลิน่าแห่งปาร์ม่า พระราชอนุชาในพระเจ้าฟรีดริช เอากุสท์ที่ 2 พระมหากษัตริย์แห่งซัคเซิน |
เว็ททีน | |
พระเจ้าอัลแบร์ทแห่งซัคเซิน
|
29 เมษายน ค.ศ. 1823 ปี) | – 19 มิถุนายน ค.ศ. 1902 (7929 ตุลาคม ค.ศ. 1873 | 19 มิถุนายน ค.ศ. 1902 | พระราชโอรสในพระเจ้าโยฮัน และเจ้าหญิงอมาลี เอากุสเทอแห่งบาวาเรีย พระมหากษัตริย์แห่งซัคเซิน |
เว็ททีน | |
พระเจ้าเกออร์คแห่งซัคเซิน
|
23 สิงหาคม ค.ศ. 1832 ปี) | – 15 ตุลาคม ค.ศ. 1904 (7219 มิถุนายน ค.ศ. 1902 | 15 ตุลาคม ค.ศ. 1904 | พระราชโอรสในพระเจ้าโยฮัน และเจ้าหญิงอมาลี เอากุสเทอแห่งบาวาเรีย พระราชอนุชาในพระเจ้าอัลแบร์ท พระมหากษัตริย์แห่งซัคเซิน |
เว็ททีน | |
พระเจ้าฟรีดริช เอากุสท์ที่ 3 แห่งซัคเซิน
|
25 พฤษภาคม ค.ศ. 1865 ปี) | – 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 (6615 ตุลาคม ค.ศ. 1904 | 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 | พระราชโอรสในพระเจ้าเกออร์ค และเจ้าหญิงมารีอา แอนนาแห่งโปรตุเกส พระมหากษัตริย์แห่งซัคเซิน ทรงเสียราชบัลลังก์ซัคเซินไปในการปฏิวัติเยอรมัน |
เว็ททีน | |
เจ้าชายฟรีดริช คริสเตียน มาร์คกราฟแห่งไมเซน
|
31 ธันวาคม ค.ศ. 1893 ปี) | – 9 สิงหาคม ค.ศ. 1968 (7418 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 | 9 สิงหาคม ค.ศ. 1968 | พระราชโอรสในพระเจ้าฟรีดริช เอากุสท์ที่ 3 และอาร์ชดัชเชสลูอีเซอแห่งออสเตรีย ประมุขราชวงศ์ซัคเซิน |
เว็ททีน | |
เจ้าชายมาเรีย เอ็มมานูเอล มาร์คกราฟแห่งไมเซน
|
31 มกราคม ค.ศ. 1926 ปี) | – 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 (869 สิงหาคม ค.ศ. 1968 | 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 | พระราชโอรสในเจ้าชายฟรีดริช คริสเตียน มาร์คกราฟแห่งไมเซน และเจ้าหญิงอลิซาเบทแห่งทูมและทาซิส ประมุขราชวงศ์ซัคเซิน |
เว็ททีน | |
เจ้าชายอเล็กซานเดอร์ มาร์คกราฟแห่งไมเซน
|
12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1954 | 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 | ยังคงอ้างสิทธ์ | พระโอรสในเจ้าชายโรเบอโต เดอ อัฟฟ์ และเจ้าหญิงแอนนาแห่งซัคเซิน ประมุขราชวงศ์ซัคเซิน (ขัดแย้งกับเจ้าชายอัลแบร์ท และต่อมา เจ้าชายรือดิเกอร์) |
เว็ททีน | |
เจ้าชายอัลแบร์ท มาร์คกราฟแห่งไมเซน
|
30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1934 ปี) | – 6 ตุลาคม ค.ศ. 2012 (7723 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 | 6 ตุลาคม ค.ศ. 2012 | พระราชโอรสในเจ้าชายฟรีดริช คริสเตียน มาร์คกราฟแห่งไมเซน และเจ้าหญิงอลิซาเบทแห่งทูมและทาซิส ประมุขราชวงศ์ซัคเซิน (ขัดแย้งกับเจ้าชายอเล็กซานเดอร์) |
เว็ททีน | |
เจ้าชายรือดิเกอร์ มาร์คกราฟแห่งไมเซน
|
23 ธันวาคม ค.ศ. 1953 | 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 | ยังคงอ้างสิทธ์ | พระโอรสในเจ้าชายทิโมแห่งซัคเซิน และมากริต ลูคัส ประมุขราชวงศ์ซัคเซิน (ขัดแย้งกับเจ้าชายอเล็กซานเดอร์) |
เว็ททีน |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.