ภาพ |
รายละเอียด |
ดัชนีการยอมรับว่าเป็นงานเขียนของเลโอนาร์โด |
|
- พระเยซูรับศีลจุ่ม
(The Baptism of Christ)
- ค.ศ. 1472–ค.ศ. 1475
- ภาพเขียนสีน้ำมันบนไม้
- 177 × 151 ซม.
- หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเรนซ์, ประเทศอิตาลี
|
- เวอร์โรชชิโอและเลโอนาร์โด
- เขียนโดยอันดรีย เดล เวอร์โรชชิโอโดยเลโอนาร์โดเป็นผู้เขียนเทวดาทางด้านซ้าย[2] และเชื่อกันว่าเลโอนาร์โดเป็นผู้เขียนภูมิทัศน์ในฉากหลังและร่างท่อนบนของพระเยซู เป็นหนึ่งในบรรดางานชิ้นแรก ๆ คำอ้างโดยจอร์โจ วาซารีที่ว่าเทวดาเขียนโดยเลโอนาร์โดได้รับการยืนยันโดยการศึกษาของวิลเลียม ฟอน โบด (Wilhelm von Bode), ไซด์ลิตซ์, และกุธมันและยอมรับโดยแม็คเคอร์ดี, วาสเซอร์มันและคนอื่น ๆ[1]
|
|
- การประกาศของเทพ
(Annunciation)
- c. ค.ศ. 1472–ค.ศ. 1475
- ภาพเขียนสีน้ำมันบนไม้
- 98 × 217 ซม.
- หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเรนซ์, ประเทศอิตาลี
|
- ยอมรับโดยทั่วไป
- เชื่อกันว่าเป็นงานเขียนชิ้นแรกที่เขียนเองทั้งหมด เดิมเชื่อว่าเขียนโดยเวอร์โรชชิโอจนกระทั่งปี ค.ศ. 1869 แต่ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นงานของเลโอนาร์โด โดยมีลิพห์ฮาร์ทเป็นผู้แจาะจงและสนับสนุนโดย โบด, ลุบค์, มุลเลอร์-วาลด์, เบอร์นาร์ด เบเร็นสัน, เค็นเน็ธ คล้าค (Kenneth Clark), โกลด์ไชเดอร์, และอื่น ๆ[1]
|
|
- พระแม่มารีไดรฟัส
(The Dreyfus Madonna)
- c. ค.ศ. 1475–ค.ศ. 1480
- ภาพเขียนสีน้ำมันบนไม้
- 15.7 × 12.8 ซม., 6.13 × 5 in
- หอศิลป์แห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี.
|
- ยังไม่เป็นที่ตกลง
- เดิมเชื่อว่าเขียนโดยเวอร์โรชชิโอหรือลอเร็นโซ ดิ เครดิ (Lorenzo di Credi). พระสรีระของพระบุตรดูไม่ได้สัดส่วนจนไม่อาจจะตกลงกันได้ บางคนเชื่อว่าเป็นงานเมื่อเลโอนาร์โดยังหนุ่ม ผู้ที่เสนอคือซุยดาในปีค.ศ. 1929 นักประวัติศาสตร์ศิลปะคนอื่น ๆ เช่นเชียร์แมนและโมเรลลิกล่าวว่าเป็นงานเขียนของเวอร์โรชชิโอ[1] แดเนียล อราสส์กล่าวว่าเป็นงานเขียนของเลโอนาร์โดเมื่อยังหนุ่มใน “เลโอนาร์โด ดา วินชี” (ค.ศ. 1997).[3]
|
|
- จิเนวรา เด เบ็นชิ
(Ginevra de' Benci)
- c. ค.ศ. 1476
- ภาพเขียนสีน้ำมันบนไม้
- 38.8 × 36.7 ซม, 15.3 × 14.4 นิ้ว
- หอศิลป์แห่งชาติ
|
- ขึ้นอยู่กับการบ่งภาพ “สุภาพสตรีกับเออร์มิน”
- กุสตาฟ วางเก็น (Gustav Friedrich Waagen) เสนอว่าเป็นงานของเลโอนาร์โดในปี ค.ศ. 1866 สนับสนุนโดยโบด นักวิชาการเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถกเถียงกันอย่างยืดยาวแต่ผู้วิจารณ์เมื่อไม่นานนี้ยอมรับทั้งผู้วาดและผู้นั่ง[1]
|
|
- พระแม่มารีเบนัวส์
(Benois Madonna)
- ค.ศ. 1478
- สีน้ำมันบนผ้าใบ
- 49.5 × 33 ซม
- พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ, เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก, ประเทศรัสเซีย
|
- ยอมรับโดยทั่วไป
- นักวิจารณ์โดยทั่วไปเชื่อว่าเป็นภาพเดียวกับภาพพระแม่มารีที่เลโอนาร์โดกล่าวถึงในปี ค.ศ. 1478[1]
|
|
- พระแม่มารีกับดอกคาร์เนชั่น
(Madonna of the Carnation)
- ค.ศ. 1478–ค.ศ. 1480
- สีน้ำมันบนแผง
- 62 × 47.5 ซม
- พิพิธภัณฑ์ศิลปะเดิม, มิวนิก, ประเทศเยอรมนี
|
- ยอมรับโดยทั่วไป
- เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นงานของเลโอนาร์โดแต่ก็ยังมีความเห็นบางความเห็นเชื่อว่าถูกเขียนเพิ่ม (overpainting) โดยศิลปินเฟล็มมิช[1]
|
|
- นักบุญเจอโรมในป่า
(St. Jerome in the Wilderness)
- c. ค.ศ. 1480
- สีฝุ่นและสีน้ำมันบนกระดาษ
- 103 × 75 ซม, 41 × 30 นิ้ว
- วังวาติกัน
- ไม่เสร็จ
|
- ยอมรับโดยทั่วไป
|
|
- การชื่นชมของแมไจ
(Adoration of the Magi)
- ค.ศ. 1481
- ทาสีรองบนแผง
- 240 × 250 ซม, 96 × 97 นิ้ว
- หอศิลป์อุฟฟิซิ, ฟลอเรนซ์, ประเทศอิตาลี
- ไม่เสร็จ
|
- ยอมรับโดยทั่วไป
|
|
- พระแม่มารีแห่งภูผา
(Madonna of the Rocks)
- ค.ศ. 1483–ค.ศ. 1486
- สีน้ำมันบนแผง (ย้ายไปบนผ้าใบ)
- 199 × 122 ซม, 78.3 × 48.0 นิ้ว
- พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีส, ประเทศฝรั่งเศส
|
- ยอมรับโดยทั่วไป
- นักประวัติศาสตร์ยอมรับโดยทั่วไปว่าเป็นภาพที่เขียนก่อนภาพชื่อเดียวกัน
|
|
- สตรีกับเออร์มิน
(Lady with an Ermine)
- ค.ศ. 1485
- ภาพเขียนสีน้ำมันบนไม้ panel
- 54 × 39 ซม
- พิพิธภัณฑ์ Czartoryski, คราเคา
|
- ขึ้นอยู่กับการระบุ “จิเนฟรา เด เบ็นชิ”
- ภาพนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันตั้งแต่กล่าวว่าเป็นภาพที่เขียนโดยเลโอนาร์โดในปีค.ศ. 1889. การระบุภาพเขียน “จิเนวรา เด เบ็นชิ” ทำให้สันนิษฐานภาพนี้ได้[1] Id as Cecilia Gallerani
|
|
- พระแม่มารีให้นม
(Madonna Litta)
- c. ค.ศ. 1490
- สีน้ำมันบนผ้าใบ (transferred from panel)
- 42 × 33 ซม
- พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ, เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก, ประเทศรัสเซีย
|
- ยังไม่เป็นที่ตกลง
- อาจจะเป็นภาพที่วาดโดยมาร์โค โดจจิโอโน (Marco d'Oggiono)
|
|
- ภาพเหมือนนักดนตรี
(Portrait of a Musician
- ค.ศ. 1490
- ภาพเขียนสีน้ำมันบนไม้
- 45 × 32 ซม
- พิพิธภัณฑ์อัมเโบรเซียนนา, มิลาน
|
- ยังไม่เป็นที่ตกลง
|
|
- หญิงงามแห่งแฟรโรนิแยร์
(La Belle Ferronière)
- ค.ศ. 1490–1496
- ภาพเขียนสีน้ำมันบนไม้
- 62 × 44 ซม
- พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีส, ประเทศฝรั่งเศส
|
- ยังไม่เป็นที่ตกลง
|
|
- พระกระยาหารมื้อสุดท้าย
(The Last Supper)
- ค.ศ. 1495–1498
- สีฝุ่นบนเจสโซ, pitch และ mastic
- 460 × 880 ซม, 181 × 346 นิ้ว
- ซานตามารีอาเดลเลกราซีเอ (มิลาน), อิตาลี
|
- ยอมรับโดยทั่วไป
|
|
- พระแม่มารีแห่งภูผา
(Virgin of the Rocks)
- ค.ศ. 1495–ค.ศ. 1508
- สีน้ำมันบนแผง
- 189.5 × 120 ซม, 74.6 × 47.25 in
- หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอน
|
- เลโอนาร์โดและอัมโบรจิโอ เด เปรดีส
- ยอมรับโดยทั่วไปว่าเขียนหลังภาพที่อยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ โดยทำร่วมกับอัมโบรจิโอ เด เปรดีส[1]
|
|
- พระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญแอนน์และนักบุญจอห์นแบ็พทิสต์
(The Virgin and Child with St. Anne and St. John the Baptist)
- c. ค.ศ. 1499–ค.ศ. 1500
- ถ่าน, ชอล์คดำขาวบนกระดาษสี
- 142 × 105 ซม, 55.7 × 41.2 นิ้ว
- หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอน
|
- ยอมรับโดยทั่วไป
|
|
- พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย
(Madonna of the Yarnwinder)
- c. ค.ศ. 1501
- สีน้ำมันบนผ้าใบ
- 50.2 × 36.4 ซม
- งานสะสมส่วนบุคคล
|
- ยังไม่เป็นที่ตกลง
- ภาพนี้มีสามภาพโดยผู้เขียนสามคน อาจจะเป็นงานลอกงานของเลโอนาร์โดที่หายไปที่เลโอนาร์โดบรรยาย ภาพที่ดีที่สุดในสามภาพเป็นของดยุคแห่งบูลลอยช์ที่ถูกขโมยในปี ค.ศ. 2003 แต่พบในปีค.ศ. 2007.[4]
|
|
- โมนาลิซา
(Mona Lisa) or La Gioconda
- c. 1503–1506
- สีน้ำมันบนค็อตตอนวูด
- 76.8 × 53.0 ซม, 30.2 × 20.9 นิ้ว
- พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีส, ประเทศฝรั่งเศส
|
- ยอมรับโดยทั่วไป
|
|
- ซัลวาตอร์ มุนดี
(Salvator Mundi)
- c. 1504–1507
- สีน้ำมันบนแผ่นไม้วอลนัต
- 65.6 x 45.4 ซม., 25.8 × 17.9 นิ้ว
|
- ยอมรับโดยทั่วไป แต่ยังมีบางความเห็นที่เห็นแย้ง
|
|
- พระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญแอนน์
(The Virgin and Child with St. Anne)
- c. ค.ศ. 1510
- สีน้ำมันบนแผง
- 168 × 112 ซม, 66.1 × 44.1 นิ้ว
- พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีส, ประเทศฝรั่งเศส
|
- ยอมรับโดยทั่วไป
|
|
- บาคคัส
(Bacchus)
- ค.ศ. 1510–ค.ศ. 1515
- สีน้ำมันบนแผงวอลนัท ย้ายไปบนผ้าใบ
- 177 × 115 ซม
- พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีส, ประเทศฝรั่งเศส
|
- ยังไม่เป็นที่ตกลง
- เชื่อกันว่าเป็นงานลอกของภาพร่าง[1]
|
|
- นักบุญจอห์นผู้ให้แบ็พทิสต์ (เลโอนาร์โด)
(St. John the Baptist)
- ค.ศ. 1513–ค.ศ. 1516
- สีน้ำมันบนแผงวอลนัท
- 69 × 57 ซม, 27.2 × 22.4 นิ้ว
- พิพิธภัณฑ์ลูฟร์, ปารีส, ประเทศฝรั่งเศส
|
- ยอมรับโดยทั่วไป
- อันโนมิโน กัดดิอาโน เขียนว่าเลโอนาร์โดเขียนภาพนักบุญจอห์น เชื่อกันว่าเป็นงานชิ้นเอกชิ้นสุดท้าย[1]
|