Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษารูซึน (รูซึนคาร์เพเทีย: русиньскый язык, อักษรโรมัน: rusîn'skyj jazyk; รูซึนพันโนเนีย: руски язик, อักษรโรมัน: ruski jazik)[14] หรือในคำเก่า ภาษารุสนัก (руснацькый язык, rusnac'kyj jazyk, 'Rusnak language')[15][16] เป็นวิธภาษาหนึ่งในกลุ่มภาษาสลาฟตะวันออก พูดโดยประชากรชาวรูซึนที่ตั้งถิ่นฐานในยุโรปตะวันออก
ภาษารูซึน | |
---|---|
русинськый язык; руски язик rusîns'kyj jazyk; ruski jazik | |
ชาติพันธุ์ | ชาวรูซึน |
จำนวนผู้พูด | ไม่ทราบ (623,500 คน อ้างถึง2000–2006)[1] สำมะโนประชากร: 76,000, ข้อมูลจากสำนักสถิติแห่งชาติ: สโลวาเกีย - 38,679[2] เซอร์เบีย - 15,626[3] โปแลนด์ - 10,000[4] ยูเครน - 6,725[5] โครเอเชีย - 2,337[6] ฮังการี - 1,113[7] เช็กเกีย - 777[8] |
ตระกูลภาษา | อินโด-ยูโรเปียน
|
ระบบการเขียน | อักษรซีริลลิก อักษรละติน (สโลวาเกีย)[9] |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา[10] โครเอเชีย[10] เช็กเกีย[10] ฮังการี[10][11] โปแลนด์[10][12] โรมาเนีย[10] เซอร์เบีย[10][13] สโลวาเกีย[10] |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | rue |
Linguasphere | 53-AAA-ec < 53-AAA-e (varieties: 53-AAA-eca to 53-AAA-ecc) |
มีการถกเถียงกันอยู่หลายครั้งว่าภาษารูซึนมีสถานะเป็นภาษาหนึ่ง หรือเป็นเพียงแค่ภาษาถิ่นเท่านั้น โดยนักภาษาศาสตร์ชาวเช็ก สโลวัก ฮังการี (รวมถึงอเมริกัน โปแลนด์ และเซอร์เบียบางส่วน) ถือว่าภาษารูซึนเป็นภาษาเอกเทศภาษาหนึ่ง[17] ส่วนนักวิชาการบางส่วน (โดยเฉพาะชาวยูเครน รวมถึงโปแลนด์ เซอร์เบีย และโรมาเนีย) ถือว่าภาษารูซึนเป็นเพียงภาษาถิ่นตะวันตกเฉียงใต้ของภาษายูเครน[18][19]
ตัวนำ | ตัวตาม | ชื่อ | อักษรโรมัน | เสียง | หมายเหตุ | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ALA | BGN | Euro | IDS | ISO | |||||
А | а | a | a | a | a | a | a | /a/ | |
Б | б | бэ | b | b | b | b | b | /b/ | |
В | в | вэ | v | v | v | v | v | /v/ | |
Г | г | гэ | h | h | h | h | h | /ɦ/ | |
Ґ | ґ | ґэ | g | g | g | g | g | /ɡ/ | |
Д | д | дэ | d | d | d | d | d | /d/ | |
Е | е | e | e | e | e | e | e | /ɛ/ | |
Є | є | є | i͡e | je | je/'e | je | ê | /je, ʲe/ | |
Ё | ё | ё | ë | jo | jo/'o | ë | /jo/ | ไม่ปรากฏในภาษารูซึนเล็มโก หรือ รูซึนพันโนเนีย | |
Ж | ж | жы | z͡h | ž | ž | ž | ž | /ʒ/ | |
З | з | зы | z | z | z | z | z | /z/ | |
І | і | i | i | I | i | I | ì | /i/ | ไม่ปรากฏในภาษารูซึนพันโนเนีย |
Ї | ї | ї | ï | ji | ji/'i | ï | ï | /ji/ | ไม่ปรากฏในภาษารูซึนเล็มโก |
И | и | и | i/y | y | î | I | I | /ɪ/ | ภาษารูซึนพันโนเนียใช้อักษรนี้วางหลังอักษร з, เช่นเดียวกับอักษรภาษายูเครน ตามการถอดเป็นอักษรโรมันของ ALA–LC สำหรับภาษารูซึนพันโนเนียจะถอดเป็นอักษร i และภาษาอื่นเป็น y |
Ы | ы | ы | ŷ | y | y | y/ŷ | y | /ɨ/ | ไม่ปรากฏในภาษารูซึนพันโนเนีย |
Й | й | йы | ĭ | j | j | j | j | /j/ | |
К | к | кы | k | k | k | k | k | /k/ | |
Л | л | лы | l | l | l | l | l | /l/ | |
М | м | мы | m | m | m | m | m | /m/ | |
Н | н | ны | n | n | n | n | n | /n/ | |
О | о | o | o | o | o | o | o | /ɔ/ | |
П | п | пы | p | p | p | p | p | /p/ | |
Р | р | ры | r | r | r | r | r | /r/ | |
С | с | сы | s | s | s | s | s | /s/ | |
Т | т | ты | t | t | t | t | t | /t/ | |
У | у | у | u | u | u | u | u | /u/ | |
Ф | ф | фы | f | f | f | f | f | /f/ | |
Х | х | хы | k͡h | ch | ch | ch | h | /x/ | |
Ц | ц | цы | t͡s | c | c | c | c | /t͡s/ | |
Ч | ч | чы | ch | č | č | č | č | /t͡ʃ/ | |
Ш | ш | шы | sh | š | š | š | š | /ʃ/ | |
Щ | щ | щы | shch | šč | šč | šč | ŝ | /ʃt͡ʃ/ | |
Ю | ю | ю | і͡u | ju | ju/'u | ju | û | /ju/ | |
Я | я | я | i͡a | ja | ja/'a | ja | â | /ja/ | |
Ь | ь | мнягкый знак (ірь) | ′ | ’ | ' | ′ | ′ | /ʲ/ | "เครื่องหมายกำกับเสียงเบา": กำหนดให้พยัญชนะนำหน้าเป็นเสียงใช้เพดานแข็ง (เสียงเบา) |
Ъ | ъ | твердый знак (ір) | ″ | ’ | " | – | ″ | "เครื่องหมายกำกับเสียงหนัก": กำหนดให้พยัญชนะนำหน้าไม่ใช่เสียงใช้เพดานแข็ง (เสียงหนัก), ไม่ปรากฏในภาษารูซึนพันโนเนีย |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.