Remove ads
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟีนิลอะลานีน (อังกฤษ: phenylalanine, สัญลักษณ์: Phe, F)[3] คือกรดอะมิโนชนิดหนึ่งที่จัดเป็นกรดอะมิโนจำเป็น เนื่องจากร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์เองได้ กรดอะมิโนชนิดนี้จึงต้องได้รับจากอาหาร ฟีนิลอะลานีนมีสูตรโครงสร้างทางเคมีคือ C6H5CH2CH(NH2)COOH
Skeletal formula of L-phenylalanine | |||
L-Phenylalanine at physiological pH | |||
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
Pronunciation | US: /ˌfɛnəlˈæləniːn/, UK: /ˌfiːnaɪl-/ | ||
IUPAC name
Phenylalanine | |||
Systematic IUPAC name
(S)-2-Amino-3-phenylpropanoic acid | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol) |
| ||
ChEBI |
| ||
ChEMBL |
| ||
เคมสไปเดอร์ | |||
ดรักแบงก์ |
| ||
ECHA InfoCard | 100.000.517 | ||
IUPHAR/BPS |
| ||
KEGG |
| ||
ผับเคม CID |
|||
UNII |
| ||
CompTox Dashboard (EPA) |
|||
InChI
| |||
SMILES
| |||
คุณสมบัติ | |||
C9H11NO2 | |||
มวลโมเลกุล | 165.192 g·mol−1 | ||
pKa | 1.83 (คาร์บอกซิล), 9.13 (อะมิโน)[2] | ||
ความอันตราย | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ฟีนิลอะลานีนมีสูตรโมเลกุลคือ C
9H
11NO
2 และมีมวลโมเลกุลเท่ากับ 165.19 g/mol ในโครงสร้างประกอบด้วยหมู่ฟังก์ชันได้แก่หมู่ฟีนิล ซึ่งเป็นวงอะโรมาติคคาร์บอน 1 หมู่, หมู่อะมิโน 1 หมู่ และหมู่คาร์บอกซิล 1 หมู่
เนื่องจากร่างกายยังสามารถเปลี่ยนฟีนิลอะลานีนให้กลายเป็นกรดอะมิโนที่มีชื่อว่าไทโรซีนได้ โดยไทโรซีนเป็นกรดอะมิโนที่มีความสำคัญในการสังเคราะห์ฮอร์โมนหลายชนิด เช่น เอพิเนฟรีน (epinephrine), นอร์เอพิเนฟรีน (norepinephrine) และไทรอยด์ฮอร์โมน (thyroid hormone) และเนื่องจากการที่ฮอร์โมนเอพิเนฟรินเป็นฮอร์โมนที่ส่งผลต่ออารมณ์ ถ้าหากร่างกายขาดฟีนิลอะลานีนก็จะทำให้เกิดอาการสับสน หดหู่ ขาดความกระปรี้กระเปร่า มีปัญหาเรื่องความจำ เป็นต้น[4]
ในเด็กมีเพิ่มอีก 2 ตัว ดังนี้
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.