Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เลือดเจ้าพระยา (อังกฤษ: Interlocking Hearts on Chao Phraya) เป็นละครโทรทัศน์ไทยที่สร้างจากบทประพันธ์เรื่อง สอยดาว สาวเดือน ของ แพร ชมพู (รัชนี จันทรังษี) โดยนำมาทำใหม่ในชื่อนี้ทั้งหมด 2 ครั้ง
ครั้งแรก สร้างโดย บริษัท บางกอก ออดิโอ วิชั่น จำกัด ออกอากาศทางช่อง 7 เอชดี ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2556 แสดงนำโดย รังสิโรจน์ พันธุ์เพ็ง, จีระนันท์ มะโนแจ่ม, ธนา สุทธิกมล และเอกพัน บรรลือฤทธิ์ กำกับการแสดงโดยฉลอง ภักดีวิจิตร ซึ่งเคยกำกับภาพยนตร์เรื่องเดียวกันนี้ในปี พ.ศ. 2512[1][2]
ครั้งที่ 2 สร้างโดย บริษัท อาหลอง จูเนียร์ จำกัด ออกอากาศทางช่อง 3 เอชดี ในปี พ.ศ. 2566 แสดงนำโดย เด่นคุณ งามเนตร, สุภาพร วงษ์ถ้วยทอง, ฐากูร การทิพย์ และวสุ แสงสิงแก้ว กำกับการแสดงโดย เฉิดบุญ ภักดีวิจิตร บุตรชายของฉลอง[3]
เลือดเจ้าพระยา | |
---|---|
เค้าโครงจาก | สอยดาว สาวเดือน |
บทประพันธ์ | แพร ชมพู (รัชนี จันทรังษี) |
บทละครโทรทัศน์ | ภูเขา |
กำกับโดย | ฉลอง ภักดีวิจิตร |
แสดงนำ | |
ดนตรีแก่นเรื่องเปิด | "เลือดเจ้าพระยา" โดย แก้วกาญจน์ ชื่นเป็นนิจ |
ดนตรีแก่นเรื่องปิด | "สายน้ำไม่ไหลกลับ" โดย แก้วกาญจน์ ชื่นเป็นนิจ |
ประเทศแหล่งกำเนิด | ประเทศไทย |
ภาษาต้นฉบับ | ภาษาไทย |
จำนวนตอน | 16 |
การผลิต | |
กล้อง | หลายกล้อง |
ความยาวตอน | 120 นาที |
บริษัทผู้ผลิต | บริษัท บางกอก ออดิโอ วิชั่น จำกัด |
ออกอากาศ | |
สถานีโทรทัศน์ | ช่อง 7 เอชดี |
ออกอากาศ | 16 สิงหาคม พ.ศ. 2556 – 20 กันยายน พ.ศ. 2556 |
ละครเรื่องก่อนหน้า | นักสู้มหากาฬ |
ละครเรื่องถัดไป | ธิดาพญายม |
ปี | พ.ศ. 2556 |
---|---|
สถานีที่ออกอากาศ | ช่อง 7 เอชดี |
บริษัทผู้ผลิต | บริษัท บางกอก ออดิโอ วิชั่น จำกัด |
บทประพันธ์ | แพรชมพู |
บทโทรทัศน์ | ภูเขา |
ผู้กำกับการแสดง | ฉลอง ภักดีวิจิตร |
ตัวละคร | นักแสดงหลัก |
เลอสรร | ธนา สุทธิกมล |
ศรีนวล | จีรนันท์ มะโนแจ่ม |
สมิง | รังสิโรจน์ พันธุ์เพ็ง |
สอยดาว | อาภา ภาวิไล |
ร้อยตำรวจเอก ระพี อมาตย์ศักดิ์ | ภัทรเดช สงวนความดี |
สาวเดือน | จุฑามาศ มันตะลัมพะ |
บุญเหลือ | กัญจน์ ภักดีวิจิตร |
สร้อยเพชร | อุษณีย์ วัฒฐานะ |
ตัวละคร | นักแสดงสมทบ |
เสือมเหศักดิ์ | ชาติชาย งามสรรพ์ |
กำนันธง | เอกพัน บรรลือฤทธิ์ |
เกียรติกล้า | ธาราเขต เพ็ชร์สุกใส |
มหา | กรุง ศรีวิไล |
ผู้ว่าทรงยศ | ดิลก ทองวัฒนา |
คุณนายศรีสอางค์ | ปนัดดา โกมารทัต |
เถ้าแก่ชิ้น | พงศนารถ วินศิริ |
บันลือ | ฐษชัย ชนะอรรถกาล |
ขจรศักดิ์ | ศุภกิตติ์ มยูรกุล |
ศรีไพร | วันวิสา ศรีวิไล |
เสือเฮี้ยน | จรินทร์ ปานเสน |
จ่าสมหมาย | อาฉี เสียงหล่อ |
พ.ต.อ.ปิยะพงษ์ วงค์เกตุใจ | |
ดร.ภณณัฏฐ์ ศรีอินทร์สุทธิ์ | |
เหิม | อมต อินทานนท์ |
ขวด | จักรธิป ทองทิพย์ |
โย่ง | บิลลี่ ผีน่ารัก |
น้อย | นันธิยา ทองหนู |
อเล็กซ์ เริงฤทธิ์ | |
เข่ง | เหนียว โกมาร |
ผู้ใหญ่ด้อง | ด้อง ดอกสะเดา |
เครา ราเชน | |
โป้ง รณสิทธิ์ | |
ฐิติ เนืองทอง | |
สุพร พรหมสุภา | |
บุญเลิศ อินทะเดชะ | |
อุ่นศักดิ์ ทิพฤาตรี | |
วิบูลย์ ดำรงพาณิชย์ | |
อภิชาติ เตียวสุวรรณ | |
ปฐมพล ฤทธิ์ทอง | |
อรศิริ ขุนราชอาญา | |
บุญมาก สุขรอด | |
ธนกนก วงศ์วิเศษลักษณ์ | |
สหภูมิ โตตรึงทรัพย์ | |
ตัวละคร | นักเเสดงรับเชิญ |
สารวัตรสมภพ | โอริเวอร์ บีเวอร์ |
เลือดเจ้าพระยา | |
---|---|
เค้าโครงจาก | สอยดาว สาวเดือน |
บทประพันธ์ | แพร ชมพู (รัชนี จันทรังษี) |
บทละครโทรทัศน์ | ตาแก้วตากู๊ดทีม |
กำกับโดย | เฉิดบุญ ภักดีวิจิตร |
แสดงนำ | |
ดนตรีแก่นเรื่องเปิด | "เลือดเจ้าพระยา" โดย วิชญาณี เปียกลิ่น |
ดนตรีแก่นเรื่องปิด | "สอยดาว สาวเดือน" โดย วชิรวิชญ์ วัฒนภักดีไพศาล, ธัญญภัสร์ ภัทรธีรชัยเจริญ |
ประเทศแหล่งกำเนิด | ประเทศไทย |
ภาษาต้นฉบับ | ภาษาไทย |
จำนวนตอน | 20 |
การผลิต | |
กล้อง | หลายกล้อง |
ความยาวตอน | 90 นาที |
บริษัทผู้ผลิต | บริษัท อาหลอง จูเนียร์ จำกัด |
ออกอากาศ | |
สถานีโทรทัศน์ | ช่อง 3 เอชดี |
ออกอากาศ | 3 มีนาคม พ.ศ. 2566 – 15 เมษายน พ.ศ. 2566 |
ละครเรื่องก่อนหน้า | ที่สุดของหัวใจ |
ละครเรื่องถัดไป | ชายแพศยา |
ปี | พ.ศ. 2566 |
---|---|
สถานีที่ออกอากาศ | ช่อง 3 เอชดี |
บริษัทผู้ผลิต | บริษัท อาหลอง จูเนียร์ จำกัด |
บทประพันธ์ | แพรชมพู |
บทโทรทัศน์ | ตาแก้วตากู๊ดทีม |
ผู้กำกับการแสดง | เฉิดบุญ ภักดีวิจิตร |
ตัวละคร | นักแสดงหลัก |
สมิง | เด่นคุณ งามเนตร |
ศรีนวล | สุภาพร วงษ์ถ้วยทอง |
พันตำรวจเอก เลอสรร ชินวร | ฐากูร การทิพย์ |
ร้อยตำรวจเอก ระพี ภักดีศักดิ์ / นายหล่อ | วชิรวิชญ์ วัฒนภักดีไพศาล |
สอยดาว | ปุญญ์ปรีดี คุ้มพร้อม รอดสวาสดิ์ |
บุญเหลือ | ธัชพล กู้วงศ์บัณฑิต |
สาวเดือน ชินวร | ธัญญภัสร์ ภัทรธีรชัยเจริญ |
ตัวละคร | นักแสดงสมทบ |
สร้อยเพชร ชินวร | ชาเคอลีน มึ้นช์ |
ทับทิม | ธิดารัตน์ ปรือทอง |
เสือมเหศักดิ์ | นภัสกร มิตรธีรโรจน์ |
เสือเฮี้ยน | ศุภกรณ์ กิจสุวรรณ |
เกียรติกล้า ชินวร | ภาราดา ชัชวาลโชติกุล |
จ่าสมหมาย / นายแห้ว | ทัศน์พล วิวิธวรรธน์ |
กำนันธง | วสุ แสงสิงแก้ว |
เถ้าแก่ชิ้น | ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย |
ผู้ว่าทรงยศ ชินวร | ศุกล ศศิจุลกะ |
คุณนายสอางค์ ชินวร | นัฎฐา ลอยด์ |
น้อย | อินทิรา ยืนยง |
ติ่ง | รุ้งลาวัลย์ โทนะหงษา |
บันลือ | นริศสันต์ โลกวิทย์ |
มหา | กัญจน์ ภักดีวิจิตร |
เสือเทียน | รัล นวรัชล์ |
ดำ | จักรภพ คำดี |
แดง | จักรกฤษ คำดี |
ช้าง | อุทร สุกรี |
ไห | ทิวธวัช ชื่นทรวง |
เหิม | ภาคภูมิ ยศกาศ |
ขจรศักดิ์ | กิตติ์ดนัย สุธาฐานเศรษฐ์ |
ตัวละคร | นักเเสดงรับเชิญ |
ชุบ | ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล |
สาย | นฤมล พงษ์สุภาพ |
ผู้กำกับสมภพ | วัชรเกียรติ บุญภักดี |
เสือมาต | จรินทร์ พรหมรังสี |
พลตำรวจตรี วิฑูรย์ วรอุไร | จตุรวิทย์ คชน่วม |
โฆษกโรงมวยเถื่อน | สิทธิพงศ์ วงศ์เลิศศักดิ์ |
ตอนที่ | วันที่ออกอากาศ | เรตติ้งทั่วประเทศ (Nationwide) |
---|---|---|
1 | 3 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 3.2 |
2 | 4 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 2.4 |
3 | 5 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 2.3 |
4 | 10 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 3.8 |
5 | 11 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 2.6 |
6 | 12 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 2.6 |
7 | 17 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 3.5 |
8 | 18 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 3.1 |
9 | 19 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 2.8 |
10 | 24 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 3.6 |
11 | 25 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 3.4 |
12 | 26 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 3.6 |
13 | 31 มีนาคม พ.ศ. 2566 | 3.8 |
14 | 1 เมษายน พ.ศ. 2566 | 3.4 |
15 | 2 เมษายน พ.ศ. 2566 | 3.3 |
16 | 7 เมษายน พ.ศ. 2566 | 4.0 |
17 | 8 เมษายน พ.ศ. 2566 | 3.2 |
18 | 9 เมษายน พ.ศ. 2566 | 3.2 |
19 | 14 เมษายน พ.ศ. 2566 | 3.3 |
20 (ตอนจบ) | 15 เมษายน พ.ศ. 2566 | 2.9 |
ลำดับ | ชื่อเพลง | ขับร้องโดย | ยาว |
---|---|---|---|
1. | "เลือดเจ้าพระยา" | แก้วกาญจน์ ชื่นเป็นนิจ (ครูแนน) | 4:15 |
2. | "สายน้ำไม่ไหลกลับ" | แก้วกาญจน์ ชื่นเป็นนิจ (ครูแนน) | 3:07 |
ความยาวทั้งหมด: | 7:22 |
ลำดับ | ชื่อเพลง | เนื้อเพลง | ทำนอง | ขับร้องโดย | ยาว |
---|---|---|---|---|---|
1. | "เลือดเจ้าพระยา" | The Must | จักรกฤษณ์ มัฆนาโส | วิชญาณี เปียกลิ่น | 3:49 |
2. | "สอยดาวสาวเดือน" | ธีรภัค มณีโชติ | ธีรภัค มณีโชติ | วชิรวิชญ์ วัฒนภักดีไพศาล ธัญญภัสร์ ภัทรธีรชัยเจริญ | 3:44 |
ความยาวทั้งหมด: | 7:33 |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.