Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นี่คือรายการสุริยุปราคาที่มองเห็นได้จากประเทศไทย โดยอ้างอิงขอบเขตตามอาณาเขตของราชอาณาจักรไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2300 จนถึงปี พ.ศ. 2700
สุริยุปราคาคือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลกโคจรมาอยู่ในแนวเดียวกันพอดี ทำให้เงาของดวงจันทร์ทอดลงมาบนพื้นผิวโลก เป็นเงามืดและเงามัว เงามืดคือบริเวณแคบ ๆ ของเงาที่ทอดผ่านไปบนผิวโลก ภายในเงามืด ดวงจันทร์จะปรากฏทับซ้อนกับดวงอาทิตย์พอดี ทำให้ผู้ที่สังเกตการณ์อยู่ในบริเวณนี้จะสังเกตเห็นสุริยุปราคาเต็มดวง สุริยุปราคาวงแหวน หรือสุริยุปราคาผสม ส่วนเงามัวจะทอดตัวล้อมรอบเงามืด และทอดตัวยาวนับพันกิโลเมตร ผู้ที่สังเกตการณ์อยู่ในบริเวณเงามัวจะสังเกตเห็นเป็นสุริยุปราคาบางส่วน
ในช่วงระยะเวลา 400 ปี พื้นที่ที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน มีแนวคราสเต็มดวงของสุริยุปราคาเต็มดวงพาดผ่าน 11 ครั้ง แบ่งเป็น
ในช่วง พ.ศ. 2300 ถึง 2400 มีแนวคราสเต็มดวงพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 3 ครั้ง ได้แก่
ครั้งที่ | วันที่และแผนที่ | แซรอส | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
1 | 25 พฤษภาคม 2313 | 124 | แนวคราสเต็มดวงพาดผ่านบริเวณที่เป็นจังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ ตรัง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และพัทลุงในปัจจุบัน | [1] |
2 | 4 มิถุนายน 2331 | 124 | แนวคราสเต็มดวงพาดผ่านบริเวณที่เป็นตอนเหนือสุดของจังหวัดเชียงรายในปัจจุบัน | [2] |
3 | 21 ธันวาคม 2386 | 139 | แนวคราสเต็มดวงพาดผ่านภาคใต้บริเวณที่เป็นจังหวัดภูเก็ต กระบี่ ตรัง พัทลุง นครศรีธรรมราชในปัจจุบัน ส่วนบริเวณอื่น ๆ เห็นเป็นสุริยุปราคาบางส่วน | [3] |
ในช่วง พ.ศ. 2401 ถึง 2500 มีแนวคราสเต็มดวงพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 4 ครั้ง ได้แก่
ครั้งที่ | วันที่และแผนที่ | แซรอส | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
1 | 18 สิงหาคม 2411 | 133 | แนวคราสเต็มดวงพาดผ่านบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี และตอนบนของชุมพร | [4] |
2 | 6 เมษายน 2418 | 127 | แนวคราสเต็มดวงพาดผ่านตัดกลางประเทศไทย ผ่านบริเวณบริเวณที่เป็นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พระนครศรีอยุธยา นครนายก ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปราจีนบุรี สระแก้ว นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร และอุบลราขธานีในปัจจุบัน ส่วนบริเวณอื่นของประเทศไทยมองเห็นได้เป็นสุริยุปราคาบางส่วน | [5] |
3 | 9 พฤษภาคม 2472 | 127 | แนวคราสเต็มดวงพาดผ่านตอนใต้ของประเทศไทย บริเวณมณฑลภูเก็ต มณฑลนครศรีธรรมราช และมณฑลปัตตานี (ที่เป็นจังหวัดสตูล สงขลา ยะลา ปัตตานี และนราธิวาสในปัจจุบัน) ส่วนบริเวณอื่นของประเทศไทยมองเห็นได้เป็นสุริยุปราคาบางส่วน | [6] |
4 | 20 มิถุนายน 2498 | 136 | แนวคราสเต็มดวงพาดผ่านกลางประเทศไทย ผ่านบริเวณจังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ชัยนาท สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม กรุงเทพมหานครและปริมณฑล สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครราชสีมา ปราจีนบุรี สระแก้ว บุรีรัมย์ สุรินทร์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี ส่วนบริเวณอื่นของประเทศไทยมองเห็นได้เป็นสุริยุปราคาบางส่วน | [7] |
ในช่วง พ.ศ. 2501 ถึง 2600 มีแนวคราสเต็มดวงพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 1 ครั้ง ได้แก่
ครั้งที่ | วันที่และแผนที่ | แซรอส | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
1 | 24 ตุลาคม 2538 | 143 | แนวคราสเต็มดวงพาดผ่านบริเวณจังหวัดตาก ตอนกลางของกำแพงเพชร นครสวรรค์ ตอนใต้ของพิจิตร ส่วนใหญ่ของลพบุรี ตอนบนของสระบุรี นครราชสีมา ตอนบนของสระแก้ว และตอนล่างของบุรีรัมย์ ส่วนบริเวณอื่นเห็นเป็นสุริยุปราคาบางส่วน | [8] |
2058- 2157 ในช่วง พ.ศ. 2601 ถึง 2630 มีแนวคราสเต็มดวงพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 3 ครั้ง ได้แก่
ครั้งที่ | วันที่และแผนที่ | แซรอส | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
1 | 11 เมษายน 2613 | 130 | แนวคราสเต็มดวงพาดผ่านบริเวณจังหวัดชุมพร ระนอง ประจวบคีรีขันธ์ จันทบุรี และตราด ส่วนบริเวณอื่นเห็นเป็นสุริยุปราคาบางส่วน | [9] |
2 | 3 มิถุนายน 2657 | 139 | แนวคราสเต็มดวงพาดผ่านบริเวณจังหวัดเชียงราย ตอนบนของเชียงใหม่ พะเยา ตอนบนของน่าน ส่วนใหญ่ของหนองคาย บึงกาฬ ตอนบนของอุดรธานี ตอนบนของสกลนคร และส่วนใหญ่ของนครพนม ส่วนบริเวณอื่นเห็นเป็นสุริยุปราคาบางส่วน | [10] |
3 | 7 พฤศจิกายน 2686 | 145 | แนวคราสเต็มดวงพาดผ่านบริเวณรอยต่อของจังหวัดกาญจบุรีและตาก ส่วนใหญ่ของอุทัยธานี ชัยนาท สุพรรณบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง ตอนล่างของลพบุรี ส่วนใหญ่ของสระบรี ตอนบนของพระนครศรีอยุธยา ตอนบนของนครนายก ตอนล่างของนครราชสีมา ตอนบนของปราจีนบุรี ตอนบนของสระแก้ว และตอนใต้สุดของบุรีรัมย์ ส่วนบริเวณอื่นเห็นเป็นสุริยุปราคาบางส่วน | [11] |
ในช่วงระยะเวลา 400 ปี พื้นที่ที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน มีแนวคราสวงแหวนของสุริยุปราคาวงแหวนพาดผ่าน 21 ครั้ง แบ่งเป็น
ในช่วง พ.ศ. 2300 ถึง 2400 มีแนวคราสวงแหวนพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 5 ครั้ง ได้แก่
ครั้งที่ | วันที่และแผนที่ | แซรอส | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
1 | 6 กันยายน 2317 | 131 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านตอนบนของบริเวณที่เป็นจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอนในปัจจุบัน | [12] |
2 | 5 สิงหาคม 2328 | 132 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านส่วนใหญ่ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา น่าน และตอนบนของแพร่ในปัจจุบัน | [13] |
3 | 16 พฤษภาคม 2360 | 125 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านตอนกลางของประเทศไทย | [14] |
4 | 9 ตุลาคม 2390 | 141 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านส่วนใหญ่ของภาคเหนือ ภาคกลางตอนบน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย | [15] |
5 | 18 กันยายน 2400 | 132 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบางส่วนของบริเวณที่เป็นจังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ในปัจจุบัน | [16] |
ในช่วง พ.ศ. 2401 ถึง 2500 มีแนวคราสวงแหวนพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 7 ครั้ง ได้แก่
ครั้งที่ | วันที่และแผนที่ | แซรอส | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
1 | 8 กรกฎาคม 2404 | 134 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านตอนล่างสุดของบริเวณที่เป็นจังหวัดยะลาและนราธิวาสในปัจจุบัน | [17] |
2 | 11 พฤศจิกายน 2444 | 141 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณมณฑลราชบุรี มณฑลชุมพร มณฑลภูเก็ต และมณฑลจันทบุรี (จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง ตราด บางส่วนของสุราษฎร์ธานี พังงา ชลบุรี ระยองและจันทบุรีในปัจจุบัน) | [18] |
3 | 17 มีนาคม 2446 | 128 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณมณฑลชุมพร มณฑลภูเก็ต มณฑลนครศรีธรรมราช และปลายใต้สุดของมณฑลจันทบุรี (จังหวัดสุราษฎร์ธานี พังงา ภูเก็ต กระบี่ นครราขสีมา บางส่วนของจังหวัดชุมพร ระนอง ตรัง พัทลุง และตราดในปัจจุบัน) | [19] |
4 | 21 สิงหาคม 2476 | 134 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดเพชรบุรี ด้านตะวันตกเฉียงใต้ของราชบุรี และตอนบนของประจวบคีรีขันธ์ | [20] |
5 | 20 กรกฎาคม 2487 | 135 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เลย หนองบัวลำภู อุดรธานี กาฬลินธุ์ มุกดาหาร ตอนล่างของสกลนคร นครพนม หนองคาย ตอนเหนือของขอนแก่น ร้อยเอ็ด ยโสธร อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี | [21] |
6 | 9 พฤษภาคม 2491 | 137 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดเพชรบุรี สมุทรสงคราม ราชบุรี สมุทรสาคร กรุงเทพมหานครและปริมณฑล นครนายก นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มุกดาหาร และนครพนม | [22] |
7 | 14 ธันวาคม 2498 | 141 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดชุมพร(ตอนบน) ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี (ตอนล่าง) สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี ลพบุรี สระบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา(ตอนบน) ปราจีนบุรี นครราชสีมา ชัยภูมิ(ตอนล่าง) บุรีรัมย์(ส่วนใหญ่) สุรินทร์(ตอนบน) ขอนแก่น(ตอนล่าง) มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์(ตอนล่าง) ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร สกลนคร(ตอนล่าง) นครพนม(ตอนล่าง) ศรีสะเกษ(ตอนบน) และอุบลราชธานี(ตอนบน) | [23] |
ในช่วง พ.ศ. 2501 ถึง 2600 มีแนวคราสวงแหวนพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 4 ครั้ง ได้แก่
ครั้งที่ | วันที่และแผนที่ | แซรอส | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
1 | 19 เมษายน 2501 | 128 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดชุมพร ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสงคราม กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี | [24] |
2 | 23 พฤษจิกายน 2508 | 132 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก เลย เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น นครราชสีมา มหาสารคาม บุรีรัมย์ สุรินทร์ และศรีสะเกษ | [25] |
3 | 21 พฤษภาคม 2574 | 138 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดสตูล สงขลา ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส | [26] |
4 | 14 ตุลาคม 2585 | 144 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส | [27] |
ในช่วง พ.ศ. 2601 ถึง 2700 มีแนวคราสวงแหวนพาดผ่านพื้นที่ของประเทศไทยจำนวนทั้งหมด 5 ครั้ง ได้แก่
ครั้งที่ | วันที่และแผนที่ | แซรอส | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|
1 | 27 มกราคม 2617 | 132 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดตาก กำแพงเพชร สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ เลย หนองบัวลำภู อุดรธานี หนองคาย และบึงกาฬ | [28] |
2 | 24 กรกฎาคม 2617 | 137 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดระนอง พังงา และสุราษฎร์ธานี | [29] |
3 | 29 ธันวาคม 2646 | 143 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดกระบี่ ตรัง และนครศรีธรรมราช | [30] |
4 | 29 ธันวาคม 2656 | 134 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดตาก กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี สุโขทัย เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง จากนั้นแนวคราสจะพ้นจากพื้นผิวโลกไปบริเวณจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก และพิจิตร | [31] |
5 | 26 สิงหาคม 2690 | 147 | แนวคราสวงแหวนพาดผ่านบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช | [32] |
ในช่วงระยะเวลา 400 ปี พื้นที่ที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน มีแนวคราสวงแหวนหรือเต็มดวงของสุริยุปราคาผสมพาดผ่าน 1 ครั้ง ได้แก่
สุริยุปราคาบางส่วนในปรากฏการณ์สุริยุปราคาแบบเต็มดวง ผสม หรือวงแหวน เกิดขึ้นเนื่องจากผู้สังเกตการณ์อยู่นอกแนวคราส (แนวเงามืด) แต่อยู่ภายใต้รัศมีเงามัว (Penumbra) ทำให้เห็นดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์ไม่หมดทั้งดวง จึงเห็นเป็นสุริยุปราคาบางส่วน หรืออาจเป็นสุริยุปราคาบางส่วนแท้ คือสุริยุปราคาที่เงามืดไม่สัมผัสกับบริเวณใดของพื้นผิวโลกเลย มีเพียงเงามัวที่สัมผัสพื้นผิวโลก ในช่วง 400 ปี พื้นที่ที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันเห็นปรากฏการณ์ลักษณะนี้ 149 ครั้ง แบ่งเป็น
ในช่วง พ.ศ. 2300 ถึง 2400 พื้นที่ของประเทศไทยเห็นสุริยุปราคาบางส่วน 40 ครั้ง ได้แก่
30 ธันวาคม 2301[34] | 13 มิถุนายน 2303[35] | 24 เมษายน 2305[36] | 17 ตุลาคม 2305[37] | 13 เมษายน 2306[38] |
---|---|---|---|---|
7 ตุลาคม 2306[39] | 30 มกราคม 2309[40] | 25 พฤษภาคม 2313[41] | 23 มีนาคม 2315[42] | 12 มีนาคม 2316[43] |
17 ตุลาคม 2324[44] | 7 ตุลาคม 2325[45] | 17 พฤศจิกายน 2332[46] | 16 กันยายน 2335[47] | 21 มกราคม 2337[48] |
16 กรกฎาคม 2338[49] | 10 มกราคม 2338[50] | 24 เมษายน 2343[51] | 28 สิงหาคม 2345[52] | 17 สิงหาคม 2346[53] |
10 ธันวาคม 2349[54] | 6 มิถุนายน 2350[55] | 4 เมษายน 2353[56] | 1 กุมภาพันธ์ 2355[57] | 17 กรกฎาคม 2357[58] |
19 พฤศจิกายน 2359[59] | 9 พฤศจิกายน 2360[60] | 4 มีนาคม 2363[61] | 26 มิถุนายน 2367[62] | 26 เมษายน 2370[63] |
14 เมษายน 2371[64] | 9 ตุลาคม 2371[65] | 9 พฤศจิกายน 2379[66] | 4 มีนาคม 2382[67] | 8 กรกฎาคม 2385[68] |
20 ตุลาคม 2389[69] | 15 เมษายน 2390[70] | 23 กุมภาพันธ์ 2391[71] | 12 กุมภาพันธ์ 2392[72] | 11 ธันวาคม 2395[73] |
ในช่วง พ.ศ. 2401 ถึง 2500 พื้นที่ของประเทศไทยเห็นสุริยุปราคาบางส่วน 28 ครั้ง ได้แก่
21 ธันวาคม 2405 | 6 พฤษภาคม 2407[74] | 18 มิถุนายน 2414[75] | 12 ธันวาคม 2414[76] | 6 มิถุนายน 2415[77] |
---|---|---|---|---|
19 กรกฎาคม 2422[78] | 17 พฤษภาคม 2425[79] | 19 สิงหาคม 2430[80] | 28 มิถุนายน 2432[81] | 17 มิถุนายน 2433[82] |
6 เมษายน 2437[83] | 22 มกราคม 2440 | 18 พฤษภาคม 2444 | 31 ตุลาคม 2445 | 29 มีนาคม 2445 |
14 มกราคม 2450 | 22 ตุลาคม 2454 | 30 กรกฎาคม 2459 | 21 กันยายน 2465 | 14 มกราคม 2469 |
12 พฤศจิกายน 2471 | 18 เมษายน 2474 | 14 กุมภาพันธ์ 2477 | 21 กันยายน 2484 | 1 สิงหาคม 2486 |
14 กุมภาพันธ์ 2496 | 25 ธันวาคม 2497 | 30 เมษายน 2500 | ||
ในช่วง พ.ศ. 2501 ถึง 2600 พื้นที่ของประเทศไทยเห็นสุริยุปราคาบางส่วน 40 ครั้ง ได้แก่
20 พฤษภาคม 2509 | 18 มีนาคม 2512 | 20 มิถุนายน 2517 | 29 เมษายน 2519 | 18 เมษายน 2520 |
---|---|---|---|---|
16 กุมภาพันธ์ 2523 | 11 มิถุนายน 2526 | 23 กันยายน 2530 | 18 มีนาคม 2531 | 11 กันยายน 2531 |
9 มีนาคม 2540 | 22 สิงหาคม 2541 | 11 สิงหาคม 2542 | 10 มิถุนายน 2545 | 3 ตุลาคม 2548 |
19 มีนาคม 2550 | 1 สิงหาคม 2551 | 26 มกราคม 2552 | 22 กรกฎาคม 2552 | 15 มกราคม 2553 |
20 พฤษภาคม 2555 | 9 มีนาคม 2559 | 26 ธันวาคม 2562 | 21 มิถุนายน 2563 | 20 เมษายน 2566 |
2 สิงหาคม 2570 | 22 กรกฎาคม 2571 | 1 มิถุนายน 2573 | 3 พฤศจิกายน 2575 | 20 มีนาคม 2577 |
2 กันยายน 2578 | 26 ธันวาคม 2581 | 25 ตุลาคม 2584 | 20 เมษายน 2585 | 26 มกราคม 2590 |
2 กันยายน 2592 | 11 เมษายน 2594 | 20 มีนาคม 2596 | 12 กันยายน 2596 | 5 มกราคม 2600 |
ในช่วง พ.ศ. 2601 ถึง 2700 พื้นที่ของประเทศไทยเห็นสุริยุปราคาบางส่วน 41 ครั้ง ได้แก่
5 พฤศจิกายน 2602 | 30 เมษายน 2603 | 20 เมษายน 2604 | 3 กันยายน 2605 | 28 กุมภาพันธ์ 2606 |
---|---|---|---|---|
24 สิงหาคม 2606 | 17 กุมภาพันธ์ 2607 | 12 กันยายน 2615 | 3 กันยายน 2624 | 24 สิงหาคม 2625 |
22 มิถุนายน 2608 | 6 ธันวาคม 2609 | 21 เมษายน 2631 | 4 ตุลาคม 2632 | 3 สิงหาคม 2635 |
27 พฤศจิกายน 2638 | 22 พฤษภาคม 2639 | 15 พฤศจิกายน 2639 | 28 กุมภาพันธ์ 2644 | 15 กรกฎาคม 2645[84] |
4 กรกฎาคม 2646[85] | 23 เมษายน 2650[86] | 16 ตุลาคม 2650[87] | 24 พฤษภาคม 2658[88] | 6 ตุลาคม 2659 |
2 เมษายน 2660[89] | 22 มีนาคม 2661[90] | 4 กรกฎาคม 2665[91] | 14 พฤษภาคม 2667[92] | 16 ตุลาคม 2669[93] |
1 มีนาคม 2671[94] | 15 สิงหาคม 2672[95] | 7 ตุลาคม 2678[96] | 26 กันยายน 2679[97] | 8 มกราคม 2684[98] |
25 พฤษภาคม 2685[99] | 2 มีนาคม 2690[100] | 30 ธันวาคม 2692[101] | 25 มิถุนายน 2693[102] | 2 เมษายน 2698[103] |
5 สิงหาคม 2700[104] | ||||
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.