ภาษาชากาทาย (อังกฤษ: Chagatai; ชากาทาย: چغتای) หรือเรียกว่า ทือร์กี (Turki)[lower-alpha 1][5] ภาษาเตอร์กิกตะวันออก[6] หรือ ภาษาเตอร์กิกชากาทาย (Čaġatāy türkīsi)[4] เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่สูญแล้ว ซึ่งเคยใช้พูดอย่างกว้างขวางในเอเชียกลาง และย้งคงเป็นภาษาวรรณกรรมจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษานี้เคยมีการใช้งานในหลายพื้นที่ เช่นในบริเวณที่เป็นอุซเบกิสถาน, ซินเจียง, คาซัคสถาน และคีร์กีซสถานในปัจจุบัน[7] ภาษาชากาทายแบบวรรณกรรมเป็นภาษาต้นตอของสาขาการ์ลุกในกลุ่มภาษาเตอร์กิก ที่รวมภาษาอุซเบกและภาษาอุยกูร์ในนั้น[8] ภาษาเติร์กเมนได้รับอิทธิพลจากภาษาชากาทายมาหลายศตวรรษ แม้ว่าจะไม่ได้อยู่ในสาขาการ์ลุกก็ตาม (แต่อยู่ในสาขาโอคุซ)[9]

ข้อมูลเบื้องต้น ภาษาชากาทาย, ภูมิภาค ...
ภาษาชากาทาย
چغتای
Thumb
ตัวสะกดชื่อภาษาในแบบอักษรแนสแทอ์ลีฆ
ภูมิภาคเอเชียกลาง
สูญแล้วประมาณ ค.ศ. 1921
ตระกูลภาษา
เตอร์กิก
รูปแบบก่อนหน้า
คาราข่าน
  • Khorezmian
    • ภาษาชากาทาย
ระบบการเขียนชุดตัวอักษรเปอร์เซีย (แนสแทอ์ลีฆ)
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการ
รหัสภาษา
ISO 639-2chg
ISO 639-3chg
นักภาษาศาสตร์chg
ปิด

พัฒนาการ

Thumb
ข้อความภาษาชากาทายในแบบอักษรแนสแทอ์ลีก ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15

ภาษาชาการทายเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พัฒนาขึ้นเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15[8]:143 อยู่ในสาขาการ์ลุกของภาษากลุ่มเตอร์กิก เคยทำหน้าที่เป็นภาษากลางในเอเชียกลาง ซึ่งมีศัพท์และวลีภาษาอาหรับและเปอร์เซียจำนวนมาก

Mehmet Fuat Köprülü แบ่งช่วงเวลาของภาษานี้ได้ดังนี้:[10]

  1. ชากาทายตอนต้น (คริสต์ศตวรรษที่ 1314)
  2. ก่อนคลาสสิก (ครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 15)
  3. คลาสสิก (ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 15)
  4. หลังคลาสสิก (คริสต์ศตวรรษที่ 16)
  5. เสี่อมถอย (คริสต์ศตวรรษที่ 1719)

อักขรวิธี

ภาษาชากาทายเป็นภาษาวรรณกรรม และเขียนด้วยชุดตัวอักษรเปอร์เซียรูปแบบหนึ่งที่มีชื่อว่า Kona Yëziq, (อักษรเก่า) ใช้งานในอักษรคาซัค, คีร์กีซ, อุยกูร์ และอุซเบก

ข้อมูลเพิ่มเติม อักษรเดี่ยว, รูปท้าย ...
อักษรเดี่ยวรูปท้ายรูปกลางรูปต้นชื่ออักษรในภาษาอุซเบก อักษรละติน อักษรคาซัค อักษรคีร์กีซ อักษรอุยกูร์
Hamza ' ئ
alif А а (О о) А а/Ә ә А а ئا
be B b Б б Б б
pe P p П п П п
te T t Т т Т т
se S s C c C c س
jim J j Ж ж Ж ж
chim Ç ç Ш ш Ч ч
hoy-i hutti H h Һ һ Х х, ∅ ھ
xe X x X x X x
dol D d Д д Д д
zol Z z З з З з
re R r Р р Р р
ze Z z З з З з
je (zhe) J j Ж ж Ж ж
sin S s C c C c
shin Ş ş Ш ш Ш ш
sod S s C c C c س
ﺿdod Z z З з З з ز
to (itqi) T t Т т Т т ت
zo (izgʻi) Z z З з З з ز
ayn ' ∅ (ғ) ئ
ğayn Ğ ğ Ғ ғ Ғ ғ
fe F f П п (Ф ф) П п/Б б (Ф ф)
qof Q q Қ қ К к
ککkof K k К к К к ك
gof G g Г г Г г
نگ/ݣـنگ/ـݣـنگـ/ـݣـنگـ/ݣـnungof Ñ ñ Ң ң Ң ң ڭ
lam L l Л л Л л
mim M m М м М м
nun N n Н Н Н н
vav V v

Ö ö, U u

У у

Ұұ/Үү, Оо/Өө

Уу/Үү, Оо/Өө

ۋ

ئۈ/ئۇ، ئۆ/ئو

hoy-i havvaz H h

A a

∅/

E е/A a

∅/

Э э/А а

ھ

ئە/ئا

ye Y y

Е e, І i

Й й, И и

І і/Ы ы, Е е

Й й

И и/Ы ы, Э э

ي

ئى، ئې

ปิด

หมายเหตุ

อักษร ف، ع، ظ، ط، ض، ص، ژ، ذ، خ، ح، ث، ء พบเฉพาะในคำยืม และไม่แสดงเป็นหน่วยเสียงเพิ่มเติมใด ๆ ทั้งสิ้น

สำหรับอักษรคาซัคและคีร์กีซ อักษรในวงเล็บ () สื่อถึงรูปยืมตัวสะกดสมัยใหม่จากภาษาตาตาร์และรัสเซียที่ไม่พบในอักษรคาซัคและคีร์กีซในอดีต

หมายเหตุ

  1. Türk tili, türk alfāzï, türkī tili, türkī lafẓï, türkčä til หรือสั้น ๆ ว่า türkī, türkčä[4]

อ้างอิง

บรรณานุกรม

แหล่งข้อมูลอื่น

Wikiwand in your browser!

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.

Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.

Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.