- (obsolete) พญาณ (pá-yaan)
- (obsolete) พรญาณ
- (obsolete) พะยาน (pá-yaan)
- (obsolete) ภญาณ
Noun
พยาน • (pá-yaan)
- evidence; testimony.
- (classifier ปาก or คน) witness.
Usage notes
- The classifier ปาก (bpàak) is for persons giving evidence in court or before public authority.
- The classifier คน (kon) is for persons giving evidence in any other cases.
Derived terms
- กลพยาน
- คำพยาน
- ซ้อมพยาน
- ซักพยาน
- ทิพญาณ
- ทิพพญาณ
- เบิกพยาน
- พยานบอกเล่า
- พยานบุคคล (pá-yaan-bùk-kon)
- พยานรัก (pá-yaan-rák)
- พยานวัตถุ
- พยานแวดล้อม
- พยานแวดล้อมกรณี
- พยานหลักฐาน (pá-yaan-làk-tǎan)
- พยานเอกสาร
- ฟอกพยาน
- โมกษะพยาน
- วัตถุพยาน
- สอบพยาน
- สักขีพยาน (sàk-kǐi-pá-yaan)
- สืบพยาน
- หลักพยาน
- อุดรพยาน
- อุตริพยาน
References
ราชบัณฑิตยสภา (2015) กฎหมายตราสามดวง: พระธรรมสาตร และหลักอินทภาษ ฉบับราชบัณฑิตยสภา (in Thai), Bangkok: ราชบัณฑิตยสภา, →ISBN, page 98:ผู้ญาณ พยาน (ตามพระไอยการลักษณะภญาณ). ดร.ใกล้รุ่ง อามระดิษ: ในภาษาเขมรสมัยกลาง พบคำว่า เพชฺญาณ, เพชฺญาญาณ หมายถึง พยานผู้รู้เห็นเหตุการณ์, สิ่งของซึ่งอ้างเป็นหลักฐาน มาจากภาษาบาลีว่า วิชชญาณ แต่ในภาษาเขมรโบราณใช้คำว่า สากฺษี หมายถึง พยาน และเขมรปัจจุบันใช้ว่า สากฺสี หมายถึง พยาน. พล.ต. ม.ร.ว.ศุภวัฒย์ เกษมศรี: ในจารึกคำปู่สบถ (พ.ศ. ๑๙๓๕) บรรทัดที่ ๑๒ ใช้ว่า พรญาณ. นายจุลทรรศน์ พยาฆรานนท์: ผู้ญาณ อาจมาจากคำเต็มว่า ผู้เป็นพยาน เป็นวิธีการพูดของคนไทยที่จะพูดอมความไว้ ผู้เป็นพยาน จึงเป็น ผู้ญาณ. ผศ. ดร.จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา: ญาณ หมายถึง รู้เห็น พิชญาณ หมายถึง รู้กว้างขึ้น ส่วนสัพพัญญู หมายถึง รู้ทุกอย่าง. ศ.วิสุทธ์ บุษยกุล: สักขีพยาน หมายถึง ผู้รู้เห็นด้วยตาตนเอง.
SEAlang Projects (2009) “bejñañāṇa”, in Dictionary of Old Khmer, retrieved 2019-07-13:bejñañāṇa ~ bejañāna ~ bejañāṇa ~ bejjañāṇa ~ bējañāna ~ becañāna ~ bēcañāṇa ~ bēcañāna ~ bœjñāṇa ~ bœjañāna ~ bvejjañāṇa ~ bicañāṇa /beɟñaːn/ MK2029 [Mod.Khmer ពេជ្ញញាណ bejñañāṇ /pɯcceəɲiːən/; Pāli *vijjañāṇa (cf. Sanskrit *vijñajñāna), < vijja `having wisdom', + ñāṇa `knowledge']. 1. v.st. To have wisdom and knowledge, be enlightened; to be proficient, expert, adept. 2. n. Expert, adept; expert witness.